Category: ระหว่างประเทศ

U.S.-China Maritime Power Play in Southeast Asia: Implications for Thailand

                          Thapiporn Suporn

The great power competition has become a fact of life in Southeast Asia. The renewed geopolitical competition intensified by Russia’s invasion of Ukraine seems to further complicate this matter. Nine countries in Southeast Asia have cast their votes in favor of the recent United Nations General Assembly (UNGA) resolution denouncing Russia’s invasion of Ukraine and urging the withdrawal of its forces.[1] This implies a mixed reaction and divergence of interests among the eleven countries in the region. While Singapore is the only country publicly condemning the unprovoked invasion of Ukraine by Russia, Myanmar’s Tatmadaw unsurprisingly supports the military operation of the Putin regime, while Vietnam and Laos abstained. As a country that has had long diplomatic relations with Russia dating back to the Tsar era, the Thai government, with the aim not to cross with Moscow, decided to abstain from condemning Russia’s annexation of the eastern region in Ukraine.

Despite being preoccupied with the largest military conflict in Europe since World War II, maritime security in Southeast Asia remains a top priority for great-power countries. It has now become a tautology that countries in Southeast Asia, whether they are small or middle powers, should avoid taking sides between the rising power and the ruled power – China and the U.S. The Singaporean Prime Minister Lee Hsien Loong once famously remarked, “I think it is very desirable for us not to have to take sides, but circumstances may arise when ASEAN may have to choose one or the other. I am hoping that it’s not coming soon.”[2] One may call the art of avoiding the tight security alignment with the great powers “flexible engagement”[3], others “hedging strategy”[4], but the bottom line is, we have reached a point where such a modus operandi seems to be far removed from reality. Take Laos and Cambodia, both countries heavily dependent on China for economic development, particularly in infrastructure building, despite the potential risks of over-dependency and falling into a debt trap. In a way, the expansion of Beijing’s influence in the region alone helps pave the way for its ambitious dream of asserting a military footprint, as well as reviving the Maritime Silk Road after it was abruptly halted by the pandemic. Even the traditional allies of the U.S. in the region, such as Thailand and the Philippines, have been grappling with the dilemma of reaping economic benefits from China while relying on the U.S. as their external security guarantor.

China’s Great Power Play

In pursuit of becoming a dominant maritime power, China, under Xi Jinping’s leadership is actively promoting the concept of Global Maritime Capital as evidenced in the 13th Five-Year Plan.[5] The plan aims to position strategic provinces such as Shenzhen, Guangzhou, and Tianjin as key hubs for global shipping and logistics. This ambitious initiative is closely tied to China’s broader strategy of bolstering the Silk Road Economic Belt and the 21st Century Maritime Silk Road. While primarily driven by economic considerations, China’s playbook goes beyond trade and encompasses military and security aspects. Beijing recognizes that as a global economic powerhouse, it must strengthen its military capabilities. This approach aligns with the predictions of scholars like Mearsheimer, who argued that China would convert its economic strength into military might over time.[6] Consequently, China is prioritizing military modernization efforts, with a specific focus on enhancing the capabilities of the People’s Liberation Army Navy. This demonstrates the country’s commitment to consolidating its maritime influence and ensuring a strong presence on the global stage.

China’s military modernization effort clearly centers around preparing for potential military actions regarding Taiwan and gaining greater control over the near-seas region, particularly the South China Sea. This assertiveness is evident through large-scale land reclamation in the Spratly Islands, along with the construction of its artificial island outposts for potential military operations in the South China Sea. China’s naval modernization also focuses on safeguarding its commercial sea lines of communication, particularly those connecting China to the Persian Gulf, while reducing U.S. influence in the Western Pacific and asserting China’s role as a leading regional and global power. Observers believe that China aims to develop its navy to function as part of an anti-access/area-denial (A2/AD) force. Such a force would serve to deter U.S. intervention in conflicts within China’s near-seas region concerning Taiwan or other issues. In the event of intervention, the objective is to either delay or diminish the effectiveness of U.S. forces intervening in the region.[7]

Recently, China’s maritime power projection in disputed areas of the South China Sea includes not only military drills and maritime militia but also military exercises and the deployment of substantial military assets. For example, they have stationed HQ-9 anti-air and YJ-12B anti-ship missiles[8], as well as Shaanxi KJ-500[9], a state-of-the-art aircraft equipped with early warning radar systems. Amidst the COVID-19 pandemic, Beijing saw the global distraction as an opportunity to construct additional artificial islands and carry out a series of naval maneuvers and exercises. These actions caused an uproar among other claimant states, notably Vietnam, the Philippines, and Malaysia. Nevertheless, in the case of Cambodia, a nation that has received substantial direct investments from China and established a robust alliance, this partnership facilitates China’s provision of financial support for Cambodia’s Ream naval base.[10]

Thailand Embracing the “Big Brother”

Although the views among Southeast Asian countries regarding the threat posed by China are inconclusive, the survey conducted by the ISEAS-Yusof Ishak Institute in 2023 revealed a strong sentiment among countries with competing claims in the South China Sea. Specifically, Vietnam (65.4%), the Philippines (62.9%), and Malaysia (41.7%) share the belief that China’s economic and military power can be wielded to threaten their countries’ interests and sovereignty.[11] This recent development could provide an opportunity for the U.S. to voice its concerns and assume the role of an external balancer in Southeast Asia, which is often regarded as America’s sphere of influence.

In theory, China’s offensive power and aggressive intentions, particularly Beijing’s military buildup and expansionist strategy in the South China Sea, coupled with its geographic proximity to the region, should have posed a significant threat to Thailand’s national security. However, the Thai military does not view China as a military threat. In fact, the foreign policy and defense establishment in Bangkok do not accord much attention to China’s maritime power projection or maritime security in general, as it is not perceived as an external threat to the Kingdom. Instead, they have embraced the ascending influence of China. This inclination began following the coups in 2006 and 2014, when, in contrast to the U.S., China refrained from criticizing the military regime or pressuring them to restore civilian government. If one were to concur with the sentiment expressed by the late Prime Minister Lee Kuan Yew, who quipped that Thai diplomacy does not simply bend with the wind but rather “bends before the wind,”[12] it becomes evident that Thailand has indeed leaned toward China. This strategic alignment aims to fortify military and economic ties, thereby upholding the prevailing autocratic regime within the country.[13] As the famous diplomatic discourse states, “Chinese and Thais are brothers.” It is evident that the brotherly Sino-Thai relationship has reached its zenith, with Thailand wholeheartedly embracing the Chinese “Big Brother”—both in terms of kinship and the connotation of Orwellian authoritarianism.

What Uncle Sam Really Wants

A champion of the notion of freedom of navigation, the government of the U.S., whether Republican or Democrat, recognizes the significance of military presence and forward deployment in maritime Southeast Asia. According to the 2022 Indo-Pacific Strategy, the American government restates that U.S “has long recognized the Indo-Pacific as vital to our security and prosperity. Our ties were forged two centuries ago.”[14] In fact, Washington’s maritime strategy has intertwined with its primary concerns of maintaining American preeminence in the region while preventing any emerging local hegemons from dismantling American regional influence. During the Obama administration, his rebalancing policy is not just about pivoting attention from the Middle East to Asia-Pacific, but also about reprioritizing Southeast Asia in the American foreign policy playbook. Obama’s foreign policy clearly emphasized the importance of the Asia-Pacific region and demonstrated strong support for freedom of navigation and securing sea lines of communication. Contrary to conventional belief, the American foreign policy establishment during the Trump administration also embraced the concept of the Free and Open Indo-Pacific (FOIP), introducing a new geopolitical landscape and emphasizing the significance of the world’s fastest-growing region. In a similar vein, the Biden White House from which inherited foreign policy legacies from both Obama and Trump also convey the strong message to the world that the U.S is an Indo-Pacific power.

 In light of China’s aggression in maritime Southeast Asia, Vice President Kamala Harris remarked that “we know that Beijing continues to coerce, to intimidate, and to make unlawful claims to the vast majority of the South China Sea. Beijing’s actions continue to undermine the rules-based order and threaten the sovereignty of nations.”[15] According to the 2022 National Defense Strategy, China appears to be “the most comprehensive and serious challenge to US national security.”[16] The report from Pentagon also emphasizes the threat posed by China to the Indo-Pacific region due to its coercive and aggressive behavior, aiming “to refashion the Indo-Pacific region and the international system to align with its interests and authoritarian preferences.”[17] 

To counter China’s military influence and preserve American primacy in the region, the U.S. can no longer rely on the Cold War playbook of the “Containment Strategy,” which appears to be outdated and incapable of attracting other countries to participate. Instead, the U.S. maintains its military presence on land, at sea, and in the air – all of which are considered its most potent assets of the U.S. Indo-Pacific Command (INDOPACOM).[18] Furthermore, the U.S. also sustains its military presence by revitalizing military engagements and implementing rotational deployments across the region.[19] In 2023, the U.S. expanded a defense pact with the Philippines, granting American troops access to four additional bases. This move provides Washington with enhanced oversight over the disputed waters of the South China Sea and areas surrounding Taiwan. Furthermore, the U.S. Marines Corps recently inaugurated a new base in Guam, the first in 70 years, intended to accommodate approximately 5,000 marines.[20] These marines are tasked with detecting and countering threats in the region, and they would play a crucial role in the event of a conflict with China. Additionally, the US plans to deploy more military assets in Australia, with plans for jointly developing airfields in the country to support a greater number of aircraft rotations.

The survey from ISEAS also concludes that the favorability of the U.S. among respondents from Southeast Asia is on the rise, increasing from 57.0% in 2022 to 61.1% in 2023. In contrast, only 38.9% of respondents chose China, highlighting a significant widening of the popularity gap between the two major powers in the region.[21] The reactions from Southeast Asian countries could greatly benefit America’s plan of containing the expansion of Chinese influence, provided that the U.S. avoids overpromising and underdelivering, as it has done in the past. This endeavor may prove challenging for the U.S., given the significant issues it currently faces in Kiev. The need to address the situation with Moscow could potentially divert its attention and resources away from Southeast Asia. Such a shift might create an opportunity for China to step in and assert its influence as a de facto power in the region, taking advantage of any vacuum left by the US.

 “Great and Good Friends”? Let’s Be Honest About Thai-U.S. Relations

For Thailand, the ties between Bangkok and Washington are not as strong as they were during the Cold War, when Washington was considered an “indispensable ally.” Attempts to rekindle and recalibrate the relations between the two countries in recent years have been thwarted by deeply polarized conflicts in Thai politics. Ongoing political unrest and democratic backsliding over the past two decades not only prevent the country from enjoying the status of a regional leader that shapes and influences regional security architecture, but also create a rift between Thailand and the U.S. Following two coups, Thai-American diplomatic ties have greatly deteriorated. This is due to the fact that the political establishment in Bangkok views the U.S. as a great power with interests lying outside of Southeast Asia. Additionally, Thailand has consistently been criticized by American diplomats for not immediately returning to democratic and civilian rule, as well as for human rights breaches evident in the increasing use of the draconian lèse majesté law against political activists. This criticism has, in turn, stirred uproar among the Thai elites and middle class, resulting in anti-American sentiment. The rising numbers of anti-American propaganda are being propagated by political provocateurs and right-wing nationalist media in Thailand. A prominent instance tied to the great power competition involves the speculation concerning a tunnel beneath the newly established American consular complex in Chiang Mai in the north of Thailand.[22] This tunnel was believed to house a missile installation aimed at China; however, this claim was later refuted by American diplomats.[23]

Recently, commentaries from pundits and experts have suggested that the U.S. should contribute more to Southeast Asia, and Thailand in particular. While this notion holds some truth, it is both inconceivable and unfair to solely blame the U.S. as an unreliable partner. To accurately assess the current state of Thai-U.S. relations, it is crucial to acknowledge that Thailand no longer shares the same strategic interests with the U.S. as it did during the height of the Cold War.[24] Furthermore, the prevailing political turmoil in the past decades and uncertainty surrounding the new government must be taken into account. For instance, the Move Forward Party, the progressive political party that won the highest number of seats in the House of Representatives in Thailand’s general election, is now excluded from forming a coalition government. With its “3Rs” foreign policy vision – Revive, Rebalance, and Recalibrate – Thai foreign policy under Pita Limjaroenrat’s leadership is believed to be more proactive, bringing back Thailand’s status as a regional leader. Unfortunately, this will not happen due to the influence of the Thai establishment and judicial activism. But this very blueprint of Thailand’s new approach to foreign affairs triggers concerns and, with the power of right-wing media in the country, raises another rumor that Thailand will lean towards the U.S. and finally become America’s pawn in the power rivalry between Washington and Beijing. This is evidenced by the concerns over an agreement between Thailand and the U.S. to establish a military base in the country.[25] Undoubtedly, this is yet another unsubstantiated rumor. However, what holds significant importance is that it underscores the degree to which certain elites in the country harbor anti-American sentiments. Under the circumstances, it is apparent that Thailand’s domestic issues are impeding its potential influence in both regional and global politics. This scenario highlights the observation that Thailand’s potential to provide substantial contributions to the U.S. seems limited, while the anticipation of receiving military or economic cooperation from the U.S. persists. Inspired by the spirit of President John F. Kennedy, this is the message that should be circulated among the Thais who believe in recalibrating the moribund relations: Ask not what the U.S. can do for Thailand, but what Thailand can now do for the U.S.

Conclusion

The great powers’ maritime power projection in Southeast Asia turns the region into another battleground for the U.S. and China. Thai foreign policy and defense establishment do not give much attention to maritime security in general, as Thailand’s national security is not directly affected by the maritime conflicts in the region. Hence, as perceived by the Thai state, it is not a credible threat. Nevertheless, the maritime power play appears intrinsically linked to the great power rivalry, with Southeast Asian states expected to react or even take sides. Although bandwagoning with the source of the threat might not be a good strategy for smaller states, several countries, driven by their main interests in reaping economic benefits from rising China, still choose to walk a tightrope. As a treaty ally of Washington, Thailand is expected to be part of a coalition counterbalancing China’s influence in the region. However, internal political instability, especially following the coups in 2006 and 2014, has also compelled the Thai establishment to play a China card at the expense of losing the American. Efforts to revive the relations between Thailand and the U.S. appear more consistent and robust than before, particularly considering the impossibility of a direct confrontation between the U.S. and China. This underscores Thailand’s vital role as a crucial asset for the U.S. in containing the influence of the revisionist power. Undoubtedly, this offers a substantial opportunity for Thailand. Nonetheless, without a strong and credible government, this prospect remains nothing more than following a pipe dream.

Thapiporn Suporn is Non-resident Research Fellow at ISIS Thailand and Assistant Professor at Khon Kaen University International College, Khon Kaen, Thailand.


This article originally appeared in Maritime Issues.


[1] Sebastian Strangio, “Nine Southeast Asian States Vote to Condemn Russian War on Ukraine,” The Diplomat, https://thediplomat.com/2023/02/nine-southeast-asian-states-vote-to-condemn-russian-war-on-ukraine/.

[2] Yuen Foong  Khong, “Southeast Asia’s Piecemeal Alignment,” East Asia Forum, https://www.eastasiaforum.org/2023/06/19/southeast-asias-piecemeal-alignment/.

[3] John D. Ciorciari, The Limits of Alignment: Southeast Asia and the Great Powers since 1975 (Washington: Georgetown University Press, 2010).

[4] Evelyn Goh, “Meeting the China Challenge: The Us in Southeast Asian Regional Security Strategies,” in Policy Studies 16, ed. The East- West Center Washington (2005).

[5] Yen-Chiang Chang, Shuang Liu, and Xu Zhang, “The Construction of Global Maritime Capital—Current Development in China,” Marine Policy 151 (2023).

[6] John J. Mearsheimer, The Tragedy of Great Power Politics (New York: W.W. Norton, 2014), 4.

[7] Congressional Research Service, “China Naval Modernization: Implications for U.S. Navy Capabilities—Background and Issues for Congress,” in Congressional Research Service (2023).

[8] The Asia Maritime Transparency Initiative, “By Air, Land, and Sea: China’s Maritime Power Projection Network,” The Center for Strategic and International Studies, https://amti.csis.org/power-projection-network/.

[9] Ibid.

[10] Ellen Nakashima and Cate Cadell, “China Secretly Building Naval Facility in Cambodia, Western Officials Say,” The Washington Post, https://www.washingtonpost.com/national-security/2022/06/06/cambodia-china-navy-base-ream/.

[11] ISEAS-Yusof Ishak Institute, “The State of Southeast Asia 2023: Survey Report,” (Singapore: ISEAS-Yusof Ishak Institute, 2023), 44.

[12] Thai Diplomacy: In Conversation with Tej Bunnag, ed. Anuson Chinvanno (Bangkok: International Studies Center, Ministry of Foreign Affairs, 2021), 16.

[13] Zachary Abuza, “America Should Be Realistic About Its Alliance with Thailand,” War on the Rocks, https://warontherocks.com/2020/01/america-should-be-realistic-about-its-alliance-with-thailand/.

[14] The White House, “Indo-Pacific Strategy of the United States,” (Washington, D.C.: The White House, 2022), 4.

[15] Nandita Bose, “U.S. Vp Harris Says China Intimidates to Back South China Sea Claims,” Reuters, https://www.reuters.com/world/asia-pacific/kamala-harris-says-beijing-continues-coerce-south-china-sea-2021-08-24/.

[16] U.S. Department of Defense, “2022 National Defense Strategy,” (Washington D.C.: U.S. Department of Defense, 2022), 4.

[17] Ibid.

[18] Working Group on Southeast Asia of the Task Force on U.S.-China Policy, “Prioritizing Southeast Asia in American China Strategy:,” (Washington D.C.: Asia Society Center on U.S.-China Relations  2023), 19.

[19] Ibid.

[20] Dewey Sim, “As Us Military ‘Encircles’ China, Does Asean ‘Quietly Welcome’ It?,” South China Morning Post, https://www.scmp.com/week-asia/politics/article/3209836/us-military-encircles-china-does-asean-quietly-welcome-it.

[21] ISEAS-Yusof Ishak Institute, “The State of Southeast Asia 2023: Survey Report,” 37.

[22] Sebastian Strangio, “Us Diplomat Again Denies Consulate Missile Base Rumor,” The Diplomat, https://thediplomat.com/2022/03/us-diplomat-again-denies-consulate-missile-base-rumor/.

[23] Ibid.

[24] Thapiporn Suporn, “Review– the Future of Thai-U.S. Relations: Views of Thai and American Leaders on the Bilateral Relationship and Ways Forward,” Kyoto Review of Southeast Asia 32 (2023).

[25] “Move Forward’s Foreign Policy Raises Concerns About U.S. Leverage in Thailand.” Thai PBS World, https://www.thaipbsworld.com/move-forwards-foreign-policy-raises-concerns-about-us-leverage-in-thailand/.

ความเข้าใจ(ผิด) และความรู้ (ใหม่) เกี่ยวกับขีดความสามารถและอนาคตของรัสเซีย

18 มีนาคม 2022

  1. จินตนาการเรื่องศักยภาพของกองทัพรัสเซีย (โดยเฉพาะในหมู่คนเจน X และเหล่าเกมเมอร์) มีสูงเกินกว่าความเป็นจริง หลายคนยังมีภาพว่ากองทัพรัสเซียนั้นเก่งมาก อาวุธยุทโธปกรณ์พร้อมสรรพ กำลังรบมีประสบการณ์และพร้อมเข้าสู่สงคราม ในความเป็นจริงแล้วไม่ใช่เลย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความพร้อมในการเข้าสู่สงคราม บทเรียนราคาแพงของหลายประเทศที่ต้องเข้าสงครามโดยไม่พร้อมก็คือ ความเสื่อมถอยหรือแม้แต่ความล่มสลาย (ดูงานของ Ferguson ที่ว่าด้วยการเข้าสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เป็นปัจจัยสำคัญของการล่มสลายของจักรวรรดิอังกฤษ) เพราะฉะนั้น แทบไม่ต้องพูดถึงเลยว่าในระยะยาวรัสเซียในสมัยของปูตินจะมีศักยภาพในการยึดครองยูเครนได้ทั้งประเทศ บทวิเคราะห์ล่าสุดใน The Economist กางตำราออกมาอธิบายว่า การยึดครองประเทศหนึ่งๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ สัดส่วนของผู้ยึดครองและผู้ถูกยึดครองควรประกอบไปด้วยประชากร 1,000 ต่อทหาร 20-25 คน แต่ ณ ขณะนี้ รัสเซียมีกองกำลังทหารประมาณแค่ 4 ต่อ 1,000 คน นี่ยังไม่ต้องพูดถึงการแบกรับค่าใช้จ่ายอื่นๆในระยะยาวภายใต้เงื่อนไขที่ประเทศกำลังถูกคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจและการเงินครั้งใหม่
  2. เศรษฐกิจรัสเซียที่อ่อนแอมานับตั้งแต่ก่อนการถูกคว่ำบาตรครั้งแรก เชื่อมโยงกับขีดความสามารถทางกองทัพของรัสเซียที่มีอยู่อย่างจำกัดตามข้อแรก พูดง่ายๆ เงินไม่พอนั่นหละ รัสเซียจึงไม่สามารถทุ่มให้กับสงครามได้อย่างที่หลายคนจินตนาการเอาไว้จริงๆเรื่องนีัมีการประเมินเอาไว้โดยนักวิชาการบสงคนด้วยซ้ำ (เช่น Buzan) ว่า การมองว่าโซเวียตในยุคสงครามเย็น มีศักยภาพทัดเทียมกับสหรัฐอเมริกาทุกด้าน เป็นคำอธิบายที่ไม่สอดรับกับความเป็นจริง แต่เป็นคำอธิบายที่ง่ายและได้รับการยอมรับ พูดง่ายๆ คุณจะเล่าเรื่องสงครามเย็นยังไง ให้ง่ายที่สุด ก็บอกไปเลยว่าโลกแบ่งออกเป็นสองขั้วอำนาจ เรียนมาตั้งแต่เด็กจนโตก็พูดแบบนี้เหมือนกันหมด แต่ถ้าไปดูจริงๆ ระบบการวางแผนเศรษฐกิจจากส่วนกลางของโซเวียตไร้ประสิทธิภาพมาก แต่อย่างที่บอกว่า เพื่อประกอบการสร้างคำอธิบายที่ง่ายต่อการทำความเข้าใจ การเสนอว่าโลกแบ่งเป็นสองขั้วอำนาจ ที่แต่ละขั้วแข่งขันกันในทุกมิติ จึงเป็นที่นิยมมากกว่า
  3. ดีเบตที่สำคัญมากอันหนึ่งคือ เราจะโทษตะวันตกและ NATO ได้เต็มปากอย่างที่นักวิชาการบางคน เช่น Mearsheimer เสนอไว้ได้เลยไหม พูดง่ายๆ การไม่เคารพเขตอิทธิพลของรัสเซียในยุคหลังสงครามเย็น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การขยายสมาชิกภาพของ NATO ถูกมองว่าเป็นประเด็นสำคัญที่เป็นสาเหตุของการเปิดสงครามในครั้งนี้เพื่อนขีดเส้นเขตอิทธิพลใหม่ให้ชัดมากขึ้น ในขณะที่อีกกลุ่มกลับมองว่า แนวทางคำอธิบายแบบนี้ยังมีปัญหาค่อนข้างมาก แต่ถ้าไม่อธิบายแบบนี้ คิดว่าแนวทางแบบไหนที่อธิบายการตัดสินใจการทำ “สงครามทางเลือก” ของปูตินได้ดีที่สุดกันแน่หละ
  4. แนวทางแบบจิตวิทยาการเมืองในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่เสื่อมความนิยมไป เริ่มได้รับการฟื้นฟูใหม่อย่างช้าๆ หลายคนมองว่าน่าจะเป็นทางเลือกใหม่ เพื่อตอบคำถามว่าปูตินคิดอะไร
  5. การเมืองเรื่องอัตลักษณ์และสถานะ น่าจะทำหน้าที่ได้เหมาะสมที่สุดการอธิบายว่าสิ่งที่ “Tsar Putin” ต้องการคือการสร้างรัสเซียให้มีที่ยืนและได้รับการยอมรับในโลกอีกครั้ง ถ้าย้อนกลับไปดูสปีชของเขา ปูตินกล่าวเอาไว้อย่างชัดเจนว่า การล่มสลายของสหภาพโซเวียตคือ “the greatest geopolitical catastrophe of the century”

Review– The Future of Thai-U.S. Relations: Views of Thai and American Leaders on the Bilateral Relationship and Ways Forward

Thapiporn Suporn

Title: The Future of Thai-U.S. Relations: Views of Thai and American Leaders on the Bilateral Relationship and Ways Forward
Author: The Asia Foundation 
Publisher: The Asia Foundation (2018), 45 pages

Are Thailand and the United States still “Good and Great Friends” after all these years? Where is the strategic importance of Thailand in American grand strategy and vice versa? Is there any room to improve deteriorating relations after the two military coup d’états in 2006 and 2014? These queries have preoccupied the minds of many Thai elites and the foreign policy establishments for more than a decade. Drawing on extensive interviews with 50 leaders, as well as a bilateral dialogue between Thai and American delegations, the Asia Foundation report, co-authored by Thomas Parks and Benjamin Zawacki, offers a detailed, albeit optimistic, review on the current relationship between Thailand and the United States.

Contrary to conventional wisdom that the ties between Thailand and the United States have recently gone sour, this report argues instead that the Thai-U.S. partnership have already emerged from “a low point”. In other words, “after a few challenging years,” the report asserts, “the bilateral relationship between the United States and Thailand is showing clear signs of improvement”. One of the biggest contributions of this work is an attempt to find “new opportunities” to recalibrate the bilateral relations amid changing geopolitical context. In recent years, the range of an all-compassing partnership between Bangkok and Washington is extraordinarily long: the 2017 senior-levels visits, the Great and Good Friends commemoration of 200 years of Thai-U.S. relations, the resume of Cobra Gold joint military exercise, the American involvement in Mekong region, but the fact that Thailand is drifting away from the American orbit cannot be obscured. According to a former U.S. Senator, “Thailand has gone off the radar completely in the United States. You don’t read much about Thailand in the Wall Street Journal, the New York Times, the Washington Post, and the Economist. If something strategic is going on in Thailand right now, it’s under the radar.” In similar fashion, former U.S. Ambassador to Thailand Eric G. John points out that, “since the end of the Cold War, the relationship has been on autopilot with neither nation putting forth a lot of effort, a kind of drift into irrelevance for both sides.”

Following the wake of a renewed great-power competition, Thailand, according to the report, “has clearly pivoted toward China”. While in Thailand: Shifting Ground Between the US and a Rising China (2017), the author posed an intriguing question on how the United States could win Thailand back from embracing the rising China, 1 the more important question is: Does Thailand still relevant in American foreign policy playbook since Thailand is no longer share strategic interest with the United States? If not, why does the world’s most powerful country still have to invest its time and resources to “win” Thailand back?

Asia-Pacific or Indo-Pacific, a terminology popularized by the Trump administration, does not just only contribute more than two-thirds of global economic growth, but also remains a key strategic priority to major powers. It comes as no surprise if the American foreign policy establishment has chosen to steer the path of U.S. foreign policy to the new direction as demonstrated by Obama’s Rebalancing Act and Trump’s Freedom and Open Indo-Pacific Strategy. As China’s growing influence in the region has been viewed as a potent threat to the American sphere of influence, the United States must, once again, pull of containment policy to counterbalance China. In doing so, the United States has to rely on its allies. The United States fully supported Thailand’s chairmanship of ASEAN in 2019, expecting the country to play a leading role within the regional body, particularly when it comes to China’s behavior, which is often interpreted as “a source of division within ASEAN”. As the ASEAN Chair, Thailand was, however, unable to play such a role. On several occasions, Thailand, as Zachary Abuza puts it, “has worked to downplay tensions in the South China Sea that have pitted Vietnam, the Philippines, and Malaysia against China”. 2

The Future of Thai-U.S. Relations – The Asia Foundation. Download HERE

While Thailand could not live up to America’s expectation, the credibility and commitment of the United States have also been called into a question as the United States has failed to be a reliable partner to Thailand. A prominent Thai scholar observes that, “China plays a long game and so will achieve its objectives slowly; the U.S. changes target every time it changes president”. A prime example of this sentiment can be found in the case of the Mekong River. According to the report, the Mekong River is regarded as “an issue of shared strategic interest for the U.S. and Thailand,” but the United States, at that moment, did not consider the importance of the Mekong River on the same level as Thailand.

As the great-power rivalry has become “a fact of life” 3 in Indo-Pacific, Thailand, in the words of the Bangkok elites, “should be to carefully balance major power, and avoid taking sides”. Thailand does not perceive China as a threat; rather, it does not hesitate to reap benefits from the rising power despite the risk of falling into China’s “web of dependency”. Even in military affairs where it is considered as the strongest aspects of the U.S. and Thai relations, Thai military officers believe that China’s influence “has caught up with and passed that of the United States”. Hence, the relevance and usefulness of Cobra Gold joint exercises as well as the U.S. International Military Education and Training (IMET) program should thoroughly reassessed.

An in-sight and fair analysis of Thai-U.S. partnership asides, internal political divisions in Thailand seem to be intentionally neglected. Evidently, the Thai monarch and Thai military have been key factors in destabilizing democratic consolidation in the Kingdom, it is therefore inconceivable when the most important topics are rarely addressed or left out from the study. It should be noted that the use of Thailand’s strict lèse majesté law has been heavily criticized by the international organizations, and, of course, the United States. In 2015, Former U.S. Ambassador to Thailand Glyn T. Davies gave a speech condemning the use of draconian royal defamation law against political activists, which triggered an anti-American sentiment among Bangkok elites and many Thais who worshipped the late King Bhumibol. Without a doubt, the primary objective of this report is to identify “a shared vision for a recalibrated U.S.-Thailand relationship”, but the ties will not be lasting until the leaders of both countries agree that democracy is the only game in town. Unexpectedly, one of the key recommendations of this work is – the United States should promote democracy and the rule of law with more sensitivity to local context and avoid actions that could be perceived as interference in Thai politics.” This line of policy recommendation alone reflects that the selection criteria for the key informants are problematic. Although the book’s subtitle – “views of Thai and American leaders on the bilateral relationship and ways forward” – may explicitly state that it will concentrate primarily on the “leaders” who have shaped the bilateral relations, but in this study, only the Thai conservatives and elites are handpicked to represent Thailand’s voices, while progressive leaders and activists holding different views have not been included. Based on the findings and key recommendations of the Asian Foundation report, it is worth noting that the culture of academic elitism in Thai society, dominating the discourse and setting the foreign policy agenda, is here to stay.

In conclusion, the future of Thai-U.S. relations appears to be dismal as Thailand’s geopolitical significance and regional leadership have declined over time, combined with the fact that Thailand no longer shares strategic interest with the United States, while the United States cannot be seen as a reliable partner. Accordingly, the conviction that both countries can find ways to rekindle and recalibrate their moribund relations should be deemed as a great delusion.



Thapiporn Suporn teaches International Affairs at Khon Kaen University International College (KKUIC), Khon Kaen, Thailand. He can be reached at thapiporn@gmail.com

This article is first appeared on Kyoto Review of Southeast Asia Website.

Notes:

  1. Benjamin Zawacki, Thailand: Shifting Ground between the Us and a Rising China (London: : Zed Books Ltd., 2017). 
  2. Zachary Abuza, “America Should Be Realistic About Its Alliance with Thailand,” War on the Rocks, https://warontherocks.com/2020/01/america-should-be-realistic-about-its-alliance-with-thailand/. 
  3. Everlyn Goh, “The Asia Pacific’s “Age of Uncertainty”: Great Power Competition, Globalisation and the Economic-Security Nexus,” ed. S. Rajaratnam School of International Studies (RSIS) (2020), 3. 

Rest In Peace, Liberal International Order

By Thapiporn Suporn

Trump ended the life of the Liberal International Order unintentionally. COVID-19 represents the final nail in the coffin. The Afghanistan debacle is akin to throwing dirt on a coffin.

The Liberal International Order (LIO) is a system of global governance and economic cooperation that has been the foundation of international relations since the end of World War II. However, recent events have shown that this system is bedridden and on the brink of collapse.

Firstly, the Trump Administration’s “America First” foreign policy and withdrawal from key international agreements and organizations have significantly weakened the LIO. The Trump Administration’s decision to withdraw from the Paris Agreement on climate change, the Trans-Pacific Partnership, and the Iran Nuclear Deal, as well as its decision to pull out of the World Health Organization, have all dealt a significant blow to the LIO. These actions have sent a message to the international community that the United States is no longer committed to the principles of cooperation and multilateralism that underlie the LIO. (Eichenberg, 2020)

Secondly, The mismanagement of the COVID-19 pandemic by the American government has had a significant impact on the country’s global stature. According to a survey conducted by the Pew Research Center, global approval of the United States’ handling of the pandemic has dropped significantly since the outbreak began, with only 27% of respondents in the countries surveyed expressing confidence in the U.S. government’s handling of the crisis. (Pew Research Center 2021) Additionally, the lack of a cohesive national response has led to a higher number of cases and deaths in the United States compared to other developed countries. (World Health Organization 2021) This has not only affected the country’s reputation internationally but also the health and well-being of American citizens.

Lastly, the ongoing Afghanistan fiasco, which is marked by the Biden Administration’s decision to withdraw all US troops from Afghanistan by September 2021 despite the Taliban’s continued aggression is the final nail in the coffin of the LIO. The withdrawal of the US troops without a peace agreement in place is likely to result in a resurgence of the Taliban and a return to the same security problems that existed before the US intervened in 2001. This failure to bring stability to the country after more than 20 years of war is a clear indication of the LIO’s inability to address global security challenges. (Dobbins, 2020)

In conclusion, the LIO is in a state of decline, and recent events have dealt a significant blow to the system of global governance and economic cooperation that has been the foundation of international relations since the end of World War II. The actions of the Trump Administration, the COVID-19 pandemic and the ongoing Afghanistan fiasco have all contributed to the weakening of the LIO, and it is unclear if it can be revived. (Ikenberry, 2020) (Mandelbaum, 2020)

References:

Eichenberg, R. (2020). Trump and the liberal international order. Journal of International Affairs, 73(2), 93-108.

Pew Research Center, “Global Confidence in U.S. Leadership Plummets During Trump Presidency,” accessed January 12, 2021, https://www.pewresearch.org/global/2020/07/22/global-confidence-in-u-s-leadership-plummets-during-trump-presidency/

World Health Organization, “COVID-19 Dashboard,” accessed January 12, 2021, https://covid19.who.int/

Dobbins, J. (2020). America’s role in the world after Afghanistan. Foreign Affairs.

Ikenberry, G. J. (2020). The crisis of the liberal international order: America and the world after Trump. Foreign Affairs.

Mandelbaum, M. (2020). The liberal international order: Yesterday and tomorrow. Journal of International Affairs, 73(2), 109-124.

ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับความเข้าใจเรื่องการสร้างเกาะเทียมในทะเลจีนใต้

11221640_10154380494398492_7919178932732342039_n

ข้อพิพาททะเลจีนใต้เป็นประเด็นปัญหาความขัดแย้งระหว่างประเทศที่ได้รับการกล่าวถึงกันอย่างกว้างขวางในบริบทปัจจุบัน แม้ประเทศไทยจะไม่ได้เป็นหนึ่งในรัฐที่มีส่วนได้เสีย หรือมีส่วนกล่าวอ้างกรรมสิทธิ์เหนือทะเลจีนใต้ แต่ปัญหาดังกล่าวก็สามารถดึงดูดความสนใจของคนทั้งในและนอกวงการวิชาการไทยมาโดยตลอด

อย่างไรก็ดี หนึ่งในปัญหาที่สะท้อนความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนไปจากความเป็นจริงก็คือ ประเด็นเรื่องการถมทะเลเพื่อสร้าง “เกาะเทียม” ของจีนในทะเลจีนใต้ ดังปรากฏให้เห็นได้จากบทวิเคราะห์ของผู้เชี่ยวชาญและบรรดาผู้สันทัดกรณีที่พยายามเสนอว่า การสร้างเกาะเทียมของจีนนั้นจะทำให้จีนมีอำนาจอธิปไตยเหนือพื้นที่พิพาท ซึ่งการวิเคราะห์ดังกล่าวนั้นเป็นการมองข้ามมิติทางกฏหมายระหว่างประเทศที่มีความสำคัญไปอย่างน่าเสียดาย

อนึ่ง กฏหมายระหว่างประเทศที่มีความสำคัญต่อการพิจารณาปัญหาเรื่องการสร้างเกาะเทียมก็คือ อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 หรือ UNCLOS (United Nations Convention on the Law Of the Sea) ซึ่งสามารถใช้เป็นเกณฑ์หรือกรอบทางกฏหมายเพื่อใช้พิจารณาสถานะของเกาะเทียมได้ดีกว่าการใช้ “คอมมอนเซนส์” หรือการคาดการณ์ไปต่างๆนาๆ โดยปราศจากกฏเกณฑ์ใดๆ (ทั้งนี้ยังไม่นับหลายๆเรื่องนี่ยังเป็นความเข้าใจผิด เช่น หลักเรื่องความใกล้ชิดทางภูมิศาสตร์ ซึ่งเป็นตัวอย่างคลาสสิคเกี่ยวกับความเข้าใจอันคลาดเคลื่อนที่ว่า เมื่อดินแดนที่รัฐต้องการอ้างกรรมสิทธิ์นั้นอยู่ใกล้กับเขตแดนของประเทศเพราะฉะนั้นดินแดนนี้ควรเป็นของรัฐนั้นๆ เช่นเดียวกันกับความเข้าใจเรื่องสิทธิ์ทางประวัติศาสตร์ ที่มักจะปรากฏให้เห็นการกล่าวอ้างในทำนองว่า อาณาบริเวณดังกล่าวนั้นตกอยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยของรัฐหนึ่งๆมาตั้งแต่ยุคโบราณกาลแล้ว เพราะฉะนั้นเราจึงมีสิทธิ์อย่างเต็มที่ในการกล่าวอ้างอำนาจอธิปไตยในบริเวณนี้อย่างเต็มที่ การใช้ความรู้สึกมาทำความเข้าใจเรื่องนี้จึงเป็นปัญหามากๆ แต่ในที่นี้ยังไม่ขอเขียนถึงครับ)

กลับมาที่เรื่อง “เกาะ” UNCLOS นิยามความหมายของเกาะไว้ว่า

“A landmass permanently above water that can sustain human habitation or economic life on its own. It is entitled to a territorial sea, contiguous zone, EEZ, and continental shelf rights.”

ถ้าเรายึดตามนิยามนี้ “เกาะ” จะส่งผลให้รัฐสามารถกล่าวอ้างทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง เขตเศรษฐกิจจำเพาะ และไหล่ทวีปได้ ภายใต้นิยามดังกล่าวก็อาจนำมาซึ่งข้อเสนอที่ว่า รัฐต่างๆควรที่จะสร้างเกาะเทียมเพื่อจะได้มีทั้งทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง เขตเศรษฐกิจจำเพาะ และไหล่ทวีป คำถามที่สำคัญคือ มันง่ายขนาดนั้นเลยหรือ?

มันไม่ง่ายดายขนาดนั้นหรอกนะครับ เพราะการสร้างเกาะเทียมนั้นจะไม่มีผลใดๆต่อ “maritime entitlements” เลย เพราะตามบทบัญญัติใน UNCLOS เกาะที่ว่ามันต้องเป็น “a naturally formed area of land…” พูดง่ายๆคือ เกาะต้องเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ไม่ได้เป็นเกาะที่มนุษย์สร้างขึ้น

นอกจากนี้ ตามมาตรา 60 ของ UNCLOS ยังระบุไว้ว่าประเทศต่างๆนั้นอาจที่จะ “establish reasonable safety zones around … artificial islands” and that “[a]rtificial islands, installations and structures do not possess the status of islands.” ถ้าพิจารณาตามนี้จะเห็นได้ชัดว่า UNCLOS อนุญาตให้รัฐสามารถสร้างเกาะเทียมได้ แต่เกาะเทียมนี่จะไม่ได้มีสถานะเป็นเกาะ! พูดง่ายๆคือ แห้วหมดนะครับ สิทธิต่างๆที่หวังๆไว้ — ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง เขตเศรษฐกิจจำเพาะ และไหล่ทวีป

สรุปแล้วเรื่องการถมทะเลสร้างเกาะเทียมของจีนนี่ไม่ได้ทำให้จีนมีสิทธิ์ทางทะเลเพิ่มขึ้น “ตามกฎหมายระหว่างประเทศ” เลย ผมคิดว่าเรื่องนี้ควรพูดให้ชัด ควรไปดูให้ชัดๆเลยว่าจริงๆแล้วบทบัญญัติมันว่ายังไงกันแน่ (ส่วนเรื่องที่ว่ากฎหมายจะมีน้ำยามากน้อยแค่ไหนนี่เป็นอีกเรื่องนะครับ)

ส่วนถ้าใครจะมองในมุมการเมืองระหว่างประเทศ ท่าทีของจีนนับตั้งแต่การประชุม Shangri-La Dialogue เมื่อเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมาก็เป็นสิ่งที่น่าสนใจมาก ในการประชุมครั้งนั้น Hua Chunying โฆษกประจํากระทรวงการต่างประเทศจีนก็ออกมายืนยันความชอบธรรมในการปรับพื้นท่ีเพื่อสร้างเกาะเทียมของจีนโดยชี้ว่า

“การก่อสร้างเกาะที่เป็นป้อมปราการและแนวหินบริเวณหมู่เกาะหนานชานั้นอยู่ภายในเขตอํานาจอธิปไตยของจีน การกระทําดังกล่าวจึงเป็นสิ่งที่ชอบด้วยกฎหมาย มีเหตุผล และชอบธรรมโดยมิได้ส่งผลกระทบต่อประเทศอื่นๆแต่อย่างใด”

นี่ยังไม่นับจุดยืนอันแข็งกร้าวของจีนต่อปัญหาในทะเลจีนใต้ที่จีนมองว่าตนมีอำนาจอธิปไตยอันไม่อาจโต้แย้งได้ (indisputable sovereignty) เหนือพื้นที่พิพาททั้งหมดในทะเลจีนใต้!! ประเด็นนี้มี dynamic สูงมากๆ ซึ่งฝากคนอื่นตามด้วยนะครับ ผมคิดว่าจะหยุดทำแล้ว

12065808_10154380494423492_2929881324081122979_n

สันนิบาตชาติ: รากฐานทางความคิดและนัยยะต่อพัฒนาการของระบบระหว่างประเทศ

สันนิบาตชาติ: รากฐานทางความคิดและนัยยะต่อพัฒนาการของระบบระหว่างประเทศ* 

3a

“ในระบบระหว่างประเทศมักปรากฏให้เห็นความตึงเครียด (Tension) อันยากที่จะหลีกเลี่ยงได้ ระหว่างความต้องการในการสถาปนาระเบียบ (Order) และความปรารถนาในการแสวงหาเสรีภาพ (Independence) โดยแม้จะเป็นที่ประจักษ์ว่าระเบียบนั้นมีจุดมุ่งหมายสำคัญในการส่งเสริมสันติภาพตลอดจนความเจริญรุ่งเรือง อย่างไรก็ตาม ทุกสิ่งทุกอย่างล้วนมีราคาที่จำเป็นต้องจ่าย และราคาของการได้มาซึ่งระเบียบดังกล่าว คือ การจำต้องยอมสละเสรีภาพในการแสดงพฤติกรรมที่เคยมีอยู่อย่างเสรีของชุมชนทางการเมืองและตัวผู้ปกครอง โดยความปรารถนาในการสถาปนาระเบียบจะสร้างการควบคุม (Constraints) และการยอมรับต่อพันธกรณีของการเป็นสมาชิกในระบบดังกล่าวโดยสมัครใจ ดังปรากฏให้เห็นได้จากแนวคิดทางปรัชญาของฮ็อบส์และนักคิดท่านอื่น…”  Adam Watson[1]  

ข้อเสนอข้างต้นของอดัม วัตสัน (Adam Watson) นักวิชาการความสัมพันธ์ระหว่างประเทศคนสำคัญจากสำนักอังกฤษ (English School) มีส่วนสำคัญอย่างยิ่ง ในการสร้างกรอบความคิดเกี่ยวกับความพยายามของประชาคมระหว่างประเทศในการสถาปนาองค์การสันนิบาตชาติในช่วงระหว่างสงครามโลกเป็นอย่างดี โดยหากประยุกต์ข้อเสนอเรื่องความต้องการสถาปนาระเบียบและความต้องการอิสรภาพของวัตสัน ผ่านการลากเส้นที่มีหัวลูกศร 2 ด้าน ด้านหนึ่งมีหัวลูกศรชี้ไปทางระเบียบและอีกด้านหนึ่งมีหัวลูกศรชี้ไปทางเสรีภาพ (ดู แผนภาพที่ 1) อาจกล่าวได้ว่าตำแหน่งแห่งที่ขององค์การสันนิบาตชาติในช่วงระยะแรกของการก่อตั้งนั้น สะท้อนให้เห็นการขยับเข้าใกล้การสร้างระเบียบมากกว่าการแสวงหาอิสรภาพของรัฐในระบบระหว่างประเทศ

hhhh

อย่างไรก็ตาม หากพิเคราะห์จากประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในยุคต่างๆ   ปฏิเสธได้ยากว่า ความตึงเครียดหรือการคัดง้างกันระหว่างความพยายามในการสร้าง “ระเบียบ” และการแสวงหา “เสรีภาพ” มักปรากฏให้เห็นได้อยู่บ่อยครั้ง[1] โดย “การคัดง้าง” ดังกล่าวก็ปรากฏให้เห็นในองค์การสันนิบาตชาติด้วยเช่นกัน[2] อย่างไรก็ดีเคลลี-เคท เอส. พีซ (Kelly-Kate S. Pease) ชี้ว่าแนวคิดหรืออุดมการณ์ที่มีอิทธิพลต่อการสถาปนาองค์การสันนิบาตชาติ กลับสะท้อนความใหม่ (novel)[3] และนวัตกรรม (innovative) ซึ่งไม่เคยปรากฏมาก่อนในประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ[4] กล่าวคือแนวคิดของรัฐผู้ก่อตั้งองค์การสันนิบาตชาตินั้นก้าวไปไกลกว่าแนวคิดเรื่องผลประโยชน์แห่งชาติ (raison d’état) ซึ่งเป็นแนวคิดที่ยึดกุมการเมืองระหว่างประเทศมาเป็นระยะเวลาช้านาน โดยการก่อตั้งองค์การสันนิบาตชาติสะท้อนการให้ความสำคัญกับการคิดคำนึงในเชิงระบบ (raison d’ésysteme) ซึ่งมีหลักคิดสำคัญวางอยู่บนตรรกะที่ว่ารัฐทั้งหลายต่างดำรงอยู่ภายใต้ระบบระหว่างประเทศชุดเดียวกัน หากรัฐต่างๆ ร่วมมือกันเพื่อรักษาระบบดังกล่าวให้มีเสถียรภาพ รัฐทั้งหลายย่อมได้รับผลประโยชน์จากความร่วมมือดังกล่าวเช่นกัน[5]

อนึ่ง เหตุผลสำคัญที่ทำให้รัฐทั้งหลายตระหนักถึงความสำคัญในการร่วมมือกันก่อตั้งองค์การสันนิบาตชาติ ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักในการก่อตั้ง คือการป้องกันสงครามและมุ่งส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศ[6] มีที่มาจากความสูญเสียจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ซึ่งถือเป็นมหาสงคราม อันบรรดารัฐที่เข้าสู่สงครามต่างระดมสรรพกำลังจากทั้งฝ่ายพลเรือนและทหาร ตลอดจนแรงงานในภาคอุตสาหกรรม เพื่อรองรับการเข้าสู่สงคราม (Total Warfare) อย่างแท้จริง[7] ผลพวงของความเสียหายจากมหาสงครามก่อให้เกิดการตั้งคำถามเกี่ยวกับสาเหตุของสงคราม ตลอดจนการแสวงหาแนวทางการป้องกันมิให้สงคราม และความขัดแย้งระหว่างประเทศที่มีความสูญเสียร้ายแรงเช่นสงครามโลกครั้งที่หนึ่งอีกครั้ง[8]

ในห้วงยามของการปราศจากองค์กรกลางอันมีอำนาจการตัดสินใจเหนือรัฐอธิปไตยซึ่งอาจนิยามได้ว่าเป็นสภาวะอนาธิปไตย (Anarchy) โรเบิร์ต แจ็คสัน (Robert Jackson) และจอร์จ โซเรนเซ็น (Georg Sorensen) ได้ให้อรรถาธิบายที่น่าสนใจเกี่ยวกับความพยายามของรัฐประชาติในการเปลี่ยนสภาวะอนาธิปไตยในระบบระหว่างประเทศ ที่มีลักษณะเหมือนป่าทึบ (Jungle) ให้กลายเป็นสวนสัตว์ (Zoo) ผ่านการสถาปนาองค์การระหว่างประเทศ เพื่อควบคุมดูแลและค้ำประกันความมั่นคงให้กับรัฐทั้งหลายในระบบระหว่างประเทศ[9] โดยความพยายามดังกล่าวของรัฐในระบบระหว่างประเทศนั้น ได้สะท้อนอิทธิพลทางความคิดแบบเสรีนิยม (Liberalism)[10] ซึ่งพิจารณาธรรมชาติของมนุษย์ในแง่ดีกล่าวคือแนวคิดเสรีนิยมเชื่อว่ามนุษย์แม้จะเป็นสิ่งที่มีชีวิตที่ต้องการแสวงประโยชน์แก่ตนเอง แต่มนุษย์นั้นก็ประกอบไปด้วยเหตุผลซึ่งมีส่วนสำคัญยิ่งในการประกอบการตัดสินใจตลอดจนมีศักยภาพในการพัฒนาตัวเองด้วย ข้อได้เปรียบข้างต้นจึงทำให้แนวคิดเสรีนิยมเชื่อว่ามนุษย์จะสามารถแสวงหาวิถีทางในการประสานผลประโยชน์ (harmony of interests) เพื่อแก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างกันโดยสันติวิธี[11] โรเบิร์ต แจ็คสันและจอร์จ โซเรนเซ็น ชี้ว่าหากมนุษย์ประยุกต์เอาความสามารถดังกล่าวเพื่อใช้ในการเมืองระหว่างประเทศ มนุษย์จะสามารถก่อตั้งองค์การระหว่างประเทศซึ่งสามารถเอื้ออำนวยประโยชน์แก่รัฐและประชาชนทั้งหลายได้[12]

อาจพิจารณาต่อไปได้อีกว่าหากกล่าวอย่างเฉพาะเจาะจงแล้ว กระแสธารทางความคิดในสำนักเสรีนิยม ที่เปรียบเสมือนเป็นจิตวิญญาณในการก่อตั้งองค์การสันนิบาตชาติ ก็คือแนวคิดของนักปรัชญาชาวเยอรมันคนสำคัญอย่างอิมมานูเอล คานต์[13] (Immanuel Kant) (1724-1804) ซึ่งมีจุดยืนที่ชัดเจนในการต่อต้านการทำสงคราม ตลอดจนสนับสนุนให้รัฐทั้งหลายใช้รูปแบบการปกครองแบบสาธารณรัฐประชาธิปไตย (democratic republic) และร่วมมือกันจัดตั้งองค์กรทางการเมือง ที่มีลักษณะถาวรซึ่งมีอำนาจและบทบาทเหนือกว่ารัฐชาติ (higher form of permanent political organization)[14] โดยบุคคลที่มีส่วนสำคัญยิ่งในการผลักดันให้อุดมการณ์ของคานต์ปรากฏเป็นรูปธรรมก็คือประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน (Woodrow Wilson) (1856-1924) ผู้ที่ได้รับการขนานนามว่าเป็นบิดาขององค์การสันนิบาตชาตินั่นเอง[15]Woodrow_Wilson_1902_cph.3b11773

ในปี 1918 ประธานาธิบดีวิลสันเสนอหลัก 14 ประการ[16]ต่อสภาครองเกรส[17] โดยวิลสันกล่าวว่าเขาต้องการที่จะสร้างโลกที่มีทั้งความเหมาะสมและความปลอดภัยต่ออุดมการณ์ประชาธิปไตย นอกจากนี้วิลสันยังมีเป้าประสงค์สำคัญที่จะทำให้องค์การสันนิบาตชาติ สามารถค้ำประกันอิสรภาพทางการเมืองตลอดจนช่วยรักษาไว้ ซึ่งอำนาจอธิปไตยและบูรณภาพเขตแดนของทั้งมหาอำนาจและบรรดารัฐขนาดเล็กได้อย่างเท่าเทียมกัน[18] อย่างไรก็ดีวิลสันก็ต้องเผชิญกับกระแสชาตินิยมในสหรัฐฯภายใต้การนำของเฮนรี คาบ็อท ลอดจ์[19](Henry Cabot Lodge) (1850–1924) สมาชิกวุฒิสภาจากพรรครีพับลิกัน ผู้เป็นแกนนำสำคัญในการต่อต้านการให้สัตยาบันสนธิสัญญาแวร์ซาย (Versailles Treaty 1919)[20] โดยลอดจ์ให้เหตุผลว่าการให้สัตยาบันในสนธิสัญญาดังกล่าวจะเป็นการจำกัดและลดทอนอำนาจอธิปไตยของสหรัฐฯ[21] โอลิเวอร์ แด็ดดาว(Oliver Daddow) ชี้ว่าการที่สหรัฐฯซึ่งแท้ที่จริงแล้วถือเป็นรัฐมหาอำนาจที่มีส่วนผลักดันและทำให้องค์การสันนิบาตชาติถือกำเนิดขึ้นกลับปฏิเสธที่จะให้สัตยาบัน ถือเป็นตลกร้าย (Irony) ที่ส่งผลกระทบต่อสถานะและความเข้มแข็งองค์การสันนิบาตชาติ ทำให้ท้ายที่สุดแล้วองค์การสันนิบาติชาติก็มีสถานะไม่ต่างอะไรกับสถานที่ในการเจรจาหารือที่มิได้นัยสำคัญในการกำหนดนโยบาย (talking shop) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในห้วงยามที่ต้องเผชิญกับความท้าทายจากวิกฤตการณ์ระหว่างประเทศ[22]

แม้จะเป็นที่ประจักษ์ถึงขีดความสามารถอันจำกัดขององค์การสันนิบาติชาติ กระนั้นอุดมการณ์เสรีนิยมก็ยังคงทำหน้าที่สำคัญในการเสาะแสวงหาหนทางในการป้องกัน มิให้มหาสงครามอย่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเกิดขึ้นอีกครั้ง อาจกล่าวได้ว่าในทัศนะของสำนักคิดเสรีนิยม สงครามโลกครั้งที่หนึ่งอุบัติขึ้นเพราะความเห็นแก่ตัว และการขาดวิสัยทัศน์ในการพินิจพิจารณาสถานการณ์อย่างมีประสิทธิภาพของผู้นำเผด็จการ ในประเทศที่ปราศจากสถาบันที่เป็นประชาธิปไตย ที่คอยควบคุมและป้องกันการตัดสินใจที่ผิดพลาดดังกล่าว แนวคิดเสรีนิยมเห็นว่า การป้องกันสงครามและความขัดแย้งระหว่างประเทศจะประสบความสำเร็จผ่านการปฏิรูป 2 ระดับ ได้แก่ การปฏิรูประดับภายในรัฐและการปฏิรูประดับระหว่างประเทศ[23] สำหรับระดับภายในรัฐ สิ่งที่ความสำคัญที่สุดคือการสนับสนุนให้รัฐในระบบระหว่างประเทศ ใช้ระบบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ซึ่งแนวคิดเสรีนิยมเชื่อมั่นว่าจะเป็นการป้องกันมิให้เกิดสงครามระหว่างประเทศ เพราะเชื่อมั่นในหลักการที่ว่ารัฐที่เป็นประชาธิปไตยจะไม่ทำสงครามระหว่างกัน (Democratic Peace) โดยคริส บราวน์ (Chris Brown) และคริสเตน อินท์ลีย์ (Christen Ainley) ชี้ว่าหากพิจารณาตามหลักคิดแบบเสรีนิยม มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่ไม่ชอบทำสงคราม แต่สงครามเกิดขึ้นจากความต้องการของผู้นำที่นิยมในระบอบเผด็จการ/ระบอบทหาร ซึ่งไม่เปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถตรวจสอบหรือคัดค้านการบริหารประเทศของรัฐบาลได้เหมือนกับรัฐที่ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย การแก้ปัญหาภายในรัฐจึงต้องกระทำผ่านการสนับสนุนการปกครองในระบอบประชาธิปไตยเป็นสำคัญ[24]

ในขณะที่การปฏิรูปในระดับระหว่างประเทศ สิ่งที่ขาดหายไปในระบบระหว่างประเทศในช่วงสงครามโลก คือกลไกระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศ โดยรัฐประชาชาติซึ่งเผชิญกับประสบการณ์อันเลวร้ายจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ต่างตระหนักถึงการแสวงหากลไกในการจัดระเบียบการเมืองระหว่างประเทศ แทนที่ระบบดุลแห่งอำนาจ (Balance of Power) ภายใต้ระบบคอนเสิร์ตแห่งยุโรป (Concert of Europe)[25] ซึ่งมีความล้าสมัย และไม่สามารถยับยั้งสงครามและความขัดแย้งระหว่างประเทศได้อีกต่อไป โดยแนวคิดหนึ่งซึ่งก้าวขึ้นมาแทนแทนแนวคิดเรื่องดุลแห่งอำนาจ คือแนวคิดเรื่องระบบความมั่นคงร่วมกัน (Collective Security)[26]

โจเซฟ เอส ไนย์ (Joseph S. Nye) ชี้ว่าแนวคิดเสรีนิยมพิจารณาการใช้นโยบายดุลแห่งอำนาจว่าเป็นนโยบายที่ไร้ศีลธรรม (immoral) โดยไนย์หยิบยกคำกล่าวของวิลสันที่ระบุว่า ระบบดุลแห่งอำนาจนั้นเปรียบเสมือนปีศาจร้ายที่บ่อนทำลายประชาธิปไตย ตลอดจนหลักการกำหนดการปกครองตนเองของแต่ละชาติ (national self-determination) อีกทั้งยังเป็นระบบที่ล้าสมัยและไม่ควรปรากฏในการเมืองระหว่างประเทศในอนาคตอีกต่อไป[27] ด้านคริส บราวน์ และคริสเตน อินท์ลีย์ เสนอว่าระบบดุลแห่งอำนาจมีพื้นฐานอยู่บนข้อตกลงลับที่สร้างพันธกรณีในการให้ความช่วยเหลือแก่รัฐที่เป็นคู่สัญญาของตน ซึ่งเป็นที่ประจักษ์ว่าประธานาธิบดีวิลสันต้องการเปลี่ยนแปลงระบบระหว่างประเทศ จากที่มีระบบดุลแห่งอำนาจไปสู่ระบบความมั่นคงร่วมกัน[28] ซึ่งเป็นหลักการที่วางอยู่บนแนวคิดที่สำคัญคือ “หนึ่งเดียวเพื่อทั้งหมดและทั้งหมดเพื่อหนึ่งเดียว” (“one for all and all for one”) กล่าวคือรัฐสมาชิกแต่ละรัฐจะค้ำประกันความมั่นคงของบรรดารัฐสมาชิกทั้งหมด เพราะฉะนั้นจึงไม่มีความจำเป็นที่รัฐทั้งหลายจะต้องให้ความสำคัญกับพันธมิตรทางทหาร(military alliance) หรือระบบดุลแห่งอำนาจอีกต่อไป[29]

แม้จะปรากฏให้เห็นความพยายามของแนวคิดเสรีนิยมในการป้องกันสงคราม และรักษาสันติภาพผ่านการก่อตั้งองค์การสันนิบาตชาติ อย่างไรก็ดีองค์การสันนิบาตชาติกลับล้มเหลวอย่างสิ้นเชิงในการป้องกันการรับมือกับนโยบายที่มุ่งขยายดินแดน และรุกรานประเทศเพื่อนบ้านของรัฐมหาอำนาจใหม่ อย่างเยอรมนี ญี่ปุ่น และอิตาลี[30] ความไร้ประสิทธิภาพในการจัดระเบียบระหว่างประเทศตามแนวทางแบบเสรีนิยม ส่งผลให้เกิดการตั้งคำถามที่สำคัญประการหนึ่งคือ แนวทางแบบเสรีนิยมเป็นวิถีทางถูกต้องและมีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด โดยแนวคิดที่มีก้าวขึ้นมามีบทบาทต่อทั้งตัวผู้กำหนดนโยบาย ตลอดจนผู้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศก็คือ แนวคิดสัจนิยม (Realism)

แนวคิดสัจนิยมวิพากษ์วิจารณ์ข้อเสนอแนวคิดเสรีนิยม ว่าเป็นแนวคิดประเภทอุดมคตินิยม (Utopianism) เข้าใจธรรมชาติของการเมืองระหว่างประเทศผิดพลาด และจำต้องรับผิดชอบต่อการเกิดสงครามโลกครั้งที่สอง[31] นักคิดในสำนักสัจนิยมเสนอว่า แท้จริงแล้วพฤติกรรมของรัฐในการเมืองระหว่างประเทศคือภาพสะท้อนของความเห็นแก่ตัวและความกระหายในอำนาจของมนุษย์[32] ยิ่งไปกว่านั้นเมื่อรัฐจำต้องปฏิสัมพันธ์กันภายใต้สภาวะอนาธิปไตย การเมืองระหว่างประเทศจึงวางอยู่บนพื้นฐานที่รัฐทั้งหลายต้องช่วยเหลือตัวเองเพื่อรักษาไว้ซึ่งความมั่นคงปลอดภัยและผลโยชน์ของตนเป็นสำคัญ

1066511

อีเอช.คาร์ (E.H.Carr)[33] (1892-1982) นักสัจนิยมคนสำคัญชี้ว่าแท้จริงแล้วการเมืองระหว่างประเทศดำเนินอยู่บนความขัดแย้งมากกว่าความร่วมมือ[34] ในทัศนะของคาร์รากเหง้าของปัญหาความขัดแย้งระหว่างประเทศมีที่มาจากความแตกต่างแตกต่างระหว่างรัฐที่มี (Haves) และรัฐที่ไม่มี (Haves not)[35] เป็นสำคัญ โดยเป็นไปได้ยากที่รัฐที่ไม่มีจะยอมรับกับสภาวการณ์ดังกล่าว โดยไม่พยายามที่จะเปลี่ยนแปลงหรือแสวงหาสถานะที่ดีกว่า[36] คาร์เรียกช่วงเวลาว่าเป็นช่วงรอยต่อระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (1914-1919) กับสงครามโลกครั้งที่สอง (1939-1945) ว่าเป็นช่วง “20 ปี แห่งวิกฤตการณ์” (“Twenty Years’ Crisis”) แม้ช่วงเวลาดังกล่าวจะปรากฏให้เห็นความพยายามในการไกล่เกลี่ยและระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศผ่านองค์การสันนิบาติชาติ อย่างไรก็ดี ในห้วงยามที่ภูมิภาคยุโรปว่างเว้นจากสงครามใหญ่ความอยุติธรรมของสนธิสัญญาแวร์ซายส์ ซึ่งเปรียบเสมือนเมล็ดพันธุ์แห่งสงครามโลกครั้งที่สอง ได้ถูกเพาะหว่านเอาไว้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว[37] คาร์ชี้ต่อไปว่าการสถาปนาองค์การสันนิบาตชาติในช่วง “20 ปี แห่งวิกฤตการณ์” แท้จริงแล้วเป็นเพียงความพยายามของรัฐมหาอำนาจ ที่จะคงไว้ซึ่งสถานะเดิมที่ตนเองได้เปรียบในฐานะผู้ชนะสงคราม[38] เป็นที่ประจักษ์ว่าคาร์ไม่เห็นด้วยกับแนวคิดเสรีนิยม หรือหากกล่าวอย่างเฉพาะเจาะจงแล้ว คาร์ไม่เห็นด้วยกับแนวทางของวิลสัน ซึ่งคาร์พิจารณาว่าเป็นแนวทางที่มีภาพลักษณ์สูงส่งและเพียบพร้อมไปด้วยศีลธรรม แต่แท้จริงแล้วเป็นเพียงฉากหน้าอันสวยหรูที่สหรัฐฯใช้เพื่อขยายอิทธิพลของตนเอง[39] นอกจากนี้แม้คาร์ซึ่งเป็นมาร์กซิสต์จะไม่ได้เห็นด้วยแนวคิดแบบจักรวรรดินิยม กระนั้นคาร์ก็ยังแสดงความไม่เห็นด้วยเกี่ยวกับสิทธิในการกำหนดการปกครองตนเองของแต่ละชาติ (The right of national self-determination) ซึ่งเป็นหลักการที่สำคัญของหลักการ 14 ประการของวิลสัน เพราะในทางปฏิบัติการรีบปลดปล่อยดินแดนในอาณานิคมให้เป็นอิสระกลับสร้างปัญหาที่สำคัญ และบั่นท่อนเสถียรภาพของการเมืองระหว่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณยุโรปตะวันออก[40]

ตามทัศนะของคาร์ นอกเหนือจากการไม่เข้าร่วมในองค์การสันนิบาตชาติของมหาอำนาจอย่างสหรัฐฯ จุดอ่อนที่สำคัญประการหนึ่งขององค์การสันนิบาตชาติ คือมาตรการการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจ (economic sanction) โดยปัญหาของการปรับใช้มาตรการคว่ำบาตรขององค์การสันนิบาตชาติ ปรากฏให้เห็นอย่างเป็นรูปธรรมเมื่อองค์การสันนิบาตชาติประสบความล้มเหลวในการใช้มาตรการดังกล่าว เพื่อตอบโต้พฤติกรรมที่รุกรานของญี่ปุ่นในเอเชีย คาร์ตั้งข้อสังเกตที่น่าสนใจว่า หากองค์การสันนิบาตชาติปราศจาการกองกำลังนานาชาติ การขู่ว่าจะใช้มาตรการทางเศรษฐกิจต่อรัฐที่ไม่เคารพต่อระเบียบขององค์การสันนิบาตชาติก็จะดำเนินไปโดยไร้ประสิทธิภาพ แนวคิดของคาร์ยังสอดคล้องกับเลออง บูชัว (Leon Bourgeois)(1851 -1925) นายกรัฐมนตรีของฝรั่งเศส ผู้เสนอว่าหากปราศจากกองทัพนานาชาติ องค์การสันนิบาตชาติจะเป็นเพียงแต่แนวคิดทางปรัชญาซึ่งไม่มีอำนาจในทางปฏิบัติ[41]

แม้จะเป็นที่ประจักษ์ว่าพลังในการอธิบายสภาพการเมืองระหว่างประเทศ ที่วางอยู่บนพื้นฐานของอำนาจและผลประโยชน์ของแนวคิดสัจนิยมได้รับชัยชนะเหนือแนวคิดเสรีนิยม และกลายเป็นแนวคิดอันทรงพลังที่ยึดกุมการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ นับตั้งแต่ยุคหลังสงครามโลกครั้งที่สองเป็นต้นมา[42] แต่อุดมการณ์และจิตวิญญาณแบบเสรีนิยมในการสถาปนาองค์การระหว่างประเทศ เพื่อป้องกันสงครามและรักษาระเบียบระหว่างประเทศก็ยังเป็นมรดกทางความคิด ที่ได้รับการส่งต่อไปยังองค์การสหประชาชาติต่อไป

_________________________________

*ตัดตอนจากบทความเรื่อง ‘บทบาทขององค์การสันนิบาตชาติในช่วงระหว่างสงคราม: ความฝันที่เป็นไป (ไม่) ได้ของแนวคิดเสรีนิยมและนัยต่อการเมืองระหว่างประเทศ’. วารสารยุโรปศึกษา 21 (1) (2557) (อยู่ระหว่างการตีพิมพ์).

[1] ความพยายามของอาณาจักรโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ภายใต้พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่  2  (Ferdinand  II)  ซึ่งเล็งเห็นความสำเร็จของการกระชับอำนาจบริเวณคาบสมุทรอิตาลีและต้องการประยุกต์ใช้วิถีทางดังกล่าวเพื่อเพิ่มอำนาจในเชิงพฤตินัยให้แก่ดินแดนซึ่งตนมีอำนาจโดยชอบธรรม (Authority) แต่ยังขาดซึ่งกำลังอำนาจ (Power capability) ในการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ  แต่กระนั้น  แรงต้านของรัฐซึ่งไม่ยอมรับการกระชับอำนาจก็ปรากฏให้เห็นได้อย่างชัดเจนดังพิจารณาได้จากความพยายามของพระคาร์ดินัลริเชอลิเออ    (Richelieu)  อัครมหาเสนาบดีแห่งพระเจ้าหลุยส์ที่  13  (Louis  XIII)  (1601  –1643)  ซึ่งไม่ต้องการให้การกระชับอำนาจของอาณาจักรโรมันฯประสบความสำเร็จ    ในทางตรงกันข้าม  ริเชอลิเออต้องการให้อาณาจักรโรมันฯตกอยู่ในสภาวะอ่อนแอและแตกแยกมากกว่า  กล่าวอีกนัยหนึ่ง  ความพยายามของริเชอลิเออสะท้อนความต้องการเสรีภาพในการกำหนดนโยบายต่างประเทศของฝรั่งเศสมากกว่าการสยบยอมต่อกฎเกณฑ์ที่ถูกสถาปนาโดยอาณาจักรโรมันฯ  (โปรดดู  Henry Kissinger,  Diplomacy (New York: Simon & Schuster, 1994), pp. 56-77.)

[2] ตัวอย่างอันเป็นรูปธรรมที่สะท้อนการไม่ยอมรับระเบียบแบบแผนซึ่งถูกกำหนดโดยมหาอำนาจเดิมคือกรณีของมหาอำนาจใหม่อย่างญี่ปุ่นในช่วงสงครามโลกครั้งที่  2  โดยพฤติกรรมของญี่ปุ่นในช่วงเวลาดังกล่าวมักถูกพิจารณาว่ามีลักษณะของการท้าทายระเบียบระหว่างประเทศที่ถูกสถาปนาโดยมหาอำนาจเดิมตามความแนวทางแบบลัทธิแก้  (Revisionism)  (โปรดดู  Kenneth B. Pyle,  “International Order and the Rise of Asia: History and Theory” In Ashley J. Tellis, Travis Tanner and Jessica Keough, eds. Strategic Asia 2011-12: Asia Responds to Its Rising Powers – China and India (Seattle: National Bureau of Asian Research, 2011), pp. 54-56.)  กล่าวคือญี่ปุ่นต้องการแสวงหาเสรีภาพในการดำเนินนโยบายต่างประเทศที่สามารถอำนวยประโยชน์ให้แก่ตนได้อย่างเป็นอิสระมากกว่าการอยู่ภายใต้ระเบียบระหว่างประเทศที่ถูกกำหนดโดยสหรัฐฯหรืออยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ขององค์การสหประชาชาติซึ่งแม้จะมีบทบาทในการประณามพฤติกรรมของญี่ปุ่น  แต่กระนั้นแนวทางขององค์การสันนิบาตชาติต่อการแก้ไขปัญหาการรุกรานแมนจูเรียของญี่ปุ่นในช่วงปี  1931-1933  ก็ไม่สามารถโน้มน้าวหรือเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของญี่ปุ่นได้  ในท้ายที่สุดแล้วญี่ปุ่นตัดสินใจหันหลังให้กับระเบียบระหว่างประเทศและลาออกจากองค์การระหว่าประเทศในปี  1933

[3] อาจพิจารณาได้ว่าแท้จริงแล้วองค์การสันนิบาติชาติเกิดขึ้นบนหลักคิดที่เชื่อในความก้าวหน้า  กล่าวคือแม้องค์การสันนิบาตชาติจะปรากฏให้เห็นนวัตกรรมและสถาปัตยกรรมทางความคิดใหม่  อาทิ  การมีรูปแบบการบริหารจัดการที่มีความสลับซับซ้อน  และมีเจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญประจำสำนักงานอย่างไรก็ดี  องค์การสันนิบาติก็มิได้เกิดขึ้นมาโดยปราศจากความเชื่อมโยงกับความพยายามในการสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศที่เคยมีมาในอดีตอย่างระบบคอนเสิร์ตแห่งยุโรป  (Concert  of  Europe)  และการประชุมสันติภาพ  ณ  กรุงเฮก  (The  Hague  Peace  Conferences)  ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของศาลอนุญาโตตุลาการถาวร  (Permanent  Court  of  Arbitration)  ในทางตรงกันข้าม  องค์การสันนิบาติชาติสามารถเรียนรู้จากความสำเร็จและความล้มเหลว  ตลอดจนสามารถนำเอาแนวคิดดังกล่าวมาต่อยอดและประยุกต์ใช้ได้อย่างประสบความสำเร็จ

[4] Kelly- Kate S. Peace,  International organizations: Perspectives on Governance in the Twenty-First Century (New York: Longman, 2010), p. 17.

[5] คำอธิบายที่สอดคล้องกับแนวคิดข้างต้นยังปรากฏให้เห็นจากข้อเสนอของ  Akira  Iriye  ซึ่งชี้ว่าชาติต่างๆ  ตลอดจนประชาชนของรัฐเหล่านั้นต่างตระหนักดีว่าพวกเขาล้วนมีผลประโยชน์และเป้าประสงค์ร่วมกัน  โดยผลประโยชน์ร่วมดังกล่าวนั้นมิได้ถูกจำกัดเฉพาะแต่ในเขตแดนของประเทศหนึ่ง  ในทางตรงกันข้าม  การได้มาซึ่งผลประโยชน์ร่วมกันจำต้องกระทำผ่านการร่วมมือระหว่างประเทศเป็นสำคัญ      (Akira Iriye,  Global Community: The Role of International Organizations in the Making of the Contemporary World (Berkeley: University of California Press, 2002), pp. 1, 9.)

[6] Eduard Benes,  “The League of Nations: Successes and Failures” Foreign Affairs 11,1 (1932): 66-80.

[7] Len Scott,  “International history 1900-90” In John Baylis, Steve Smith, and Patricia Owens, eds, The Globalization of World Politics, 5th ed. (Oxford: Oxford University Pressม 2011), p. 53.

[8] Robert Jackson and Georg Sorensen,  Introduction to international relations (Oxford: Oxford University Press, 1999), p. 35.

[9] Ibid., p. 38.

[10] โอลิเวอร์ แด็ดดาว (Oliver  Daddow)  เสนอว่าแท้จริงแล้วแนวคิดเสรีนิยมมิได้เกิดขึ้น ในช่วงการก่อตั้งสาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในปี  1919  ในทางตรงกันข้าม แนวคิดเสรีนิยมนั้นมีรากฐานทางทางความคิดจากนักปรัชญาคนสำคัญในอดีต  อาทิ  อีราสมุส  (Eramus)  (1466-1536)  ฮูโก  โกรเทียส  (Hugo  Grotius)(1589-1635)  อิมมานูเอลคานต์  (Immanuel  Kant)  (1724-1804)  และ

เจเรอมี  เบนแธม  (Jeremy  Bentham)  (1748-1832)  (โปรดดู  Daddow,  International Relations Theory, p. 85.)

[11] Andrew Heywood,  Global politics, p. 56.

[12] Jackson and Sorensen,  Introduction to international relations, p. 39.

[13] อิมมานูเอลคานต์  นักปรัชญาชาวเยอรมันผู้เขียนงานชิ้นสำคัญ  อาทิ  Critique  of  Pure  Reason  (1781)  และ Perpetual Peace:

A  Philosophical  Sketch  (1795)  โดยงานของคานต์มักถูกพิจารณาว่าเป็นงานที่สะท้อนจิตวิญญาณแบบสาธารณรัฐนิยม  ตลอดจน

แนวคิดที่ว่ารัฐที่เป็นประชาธิปไตยจะไม่ทำสงครามระหว่างกันหรือ  Democratic  Peace    (โปรดดู  James A. Yunker,  The

Idea of World Government: From Ancient Times to the Twenty-First Century (London: Routledge, 2011), p. 42.)

[14] Yunker,  The Idea of World Government: From Ancient Times to the Twenty-First Century, p. 25, 28, 42.

[15] Mazower,  Governing the World: the History of an Idea, p. 118.

[16] สาระสำคัญของหลัก  14  ประการคือ  การยกเลิกการทำสนธิสัญญาลับ  (Secret  diplomacy)  การสนับสนุนการค้าเสรี  ส่งเสริมเสรีภาพในการเดินเรืออย่างเสรี  (Freedom  of  navigation)  การยกเลิกกำแพงภาษี,  การลดอาวุธ  และการกำหนดการปกครองตนเอง  (Self-  Determination)

[17] Daddow,  International Relations Theory, p. 88.

[18] Ibid.

[19] นอกเหนือจากความไม่ลงรอยกันระหว่างวิลสันและลอดจ์เกี่ยวกับการก่อตั้งองค์การสันนิบาติชาติยังปรากฏให้เห็นความคิดเห็นที่แตกต่างกันของผู้กำหนดนโยบายของรัฐมหาอำนาจต่อการกำหนดอำนาจและบทบาทขององค์การสันนิบาติชาติ  โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อเสนอของรัฐมนตรีต่างประเทศฝรั่งเศส  จอร์จเคลมองโช  (Georges  Clemenceau)  (1841-1929)  ซึ่งต้องการให้องค์การสันนิบาติชาติมีกองกำลังเป็นของตนเอง  และยืนยีนจุดยืนที่สำคัญคือการปฏิเสธบทบาทของเยอรมนีในองค์การสันนิบาตชาติ  ในขณะที่เดวิด  ลอยด์  จอร์จ  (David  Lloyd  George)  (1863-1945)  กลับยืนยันจุดยืนของอังกฤษว่าต้องการให้องค์การสันนิบาตชาติเป็นองค์การที่รัฐสมาชิกจะปรึกษาหารือกันในช่วงที่เกิดวิกฤตการณ์

[20] สนธิสัญญาแวร์ซายหรือสนธิสัญญาสันติภาพปารีส  (Paris  Peace  Conference) ซึ่งลงนามในวันที่  28  มิถุนายน  1919  ถือเป็นสัญลักษณ์ของการสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่  1  โดยสนธิสัญญาดังกล่าวมีผลให้เยอรมันจำต้องยอมรับผิดในฐานะผู้ก่อสงคราม  กำหนดเขตแดนของเยอรมนีใหม่  ตลอดจนบังคับให้เยอรมนีจำต้องชดใช้ค่าปฏิกรรมสงครามและลดขีดความสามารถทางทหารของกองทัพเยอรมัน  (D’Anieri 2010,  40)  นอกจากนี้สนธิสัญญาแวร์ซายยังผนวกเอากติกาขององค์การสันนิบาติชาติ  (The  Covenant  of  the  League  of  Nations)  เข้าไว้เป็นส่วนหนึ่งของรายละเอียดในสนธิสัญญาซึ่งส่งผลให้องค์การสันนิบาตชาติถือกำเนิดขึ้นอย่างเป็นทางการ  ณ  วันที่  10  มกราคม  1920  เมื่อรัฐสมาชิกในองค์การสันนิบาตชาติต่างให้สัตยาบันยอมรับสนธิสัญญาดังกล่าวเป็นที่เรียบร้อยแล้ว  (โปรดดูลำดับเหตุการณ์สำคัญของการสถาปนาองค์การสันนิบาติชาติใน  E. H. Carr,  The Twenty Years’ Crisis 1919-1939: An Introduction to the Study of International Relations, pp.  xciv-c.)

[21] โปรดู สมพงศ์ ชูมาก,  องค์การระหว่างประเทศ: สันนิบาตชาติและสหประชาชาติ (กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย, 2525), หน้า 18. และ Mazower,  Governing the World: the History of an Idea, p. 120.

[22] Daddow,  International Relations Theory, p. 90.

[23] โปรดดู Brown and Ainley,  Understanding International Relations (New York: Palgrave Macmillan, 2005), pp. 20-24.

[24] Ibid., p. 21.

[25] ระบบคอนเสิร์ตแห่งยุโรปหรือระบบครองเกรส  (Congress  System)  ถูกสถาปนาขึ้นในยุคหลังสงครามนโปเลียน  (1814) โดยบรรดารัฐมหาอำนาจรัฐมหาอำนาจ  5  ชาติได้แก่  อังกฤษ  รัสเซีย  ออสเตรีย  ปรัสเซียและฝรั่งเศส  โดยจุดมุ่งหมายที่สำคัญของระบบคอนเสิร์ตแห่งยุโรปคือการป้องกันมิให้มหาอำนาจใดก้าวขึ้นมามีอำนาจและครอบครองยุโรปได้อย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาดแต่เพียงชาติเดียวดังที่ปรากฏให้เห็นในสมัยจักรพรรดินโปเลียน  โบนาปาร์ต  (Napoléon  Bonaparte)  นอกจากนี้จึงระบบคอนเสิร์ตแห่งยุโรปยังถูกออกแบบมาเพื่อสร้างช่องทางหรือเวทีในการปรึกษาหารือให้บรรดารัฐมหาอำนาจได้เจรจากันอย่างสม่ำเสมอ  โดยหลักคิดที่ยึดโยงให้ระบบคอนเสิร์ตแห่งยุโรปดำรงอยู่ได้คือความหวาดกลัวการปฏิวัติอันเปรียบเสมือนเป็นภัยคุกคามร่วมกันของรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในยุโรปในขณะนั้น  (โปรดดู  Kissinger,  Diplomacy, pp. 78-102. และบรรพต กำเนิดศิริ, ประวัติศาสตร์การทูตตั้งแต่การประชุมที่กรุงเวียนนา ค.ศ. 1815 จนถึงจุดเริ่มต้นของสงครามเย็นปี ค.ศ. 1947 (กรุงเทพฯ: โครงการตำราและสิ่งพิมพ์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2553), หน้า 33-66.)

[26] ขจิต จิตตเสวี,  องค์การระหว่างประเทศ (กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2552), หน้า 139.

[27] Joseph S. Nye,  Understanding International Conflicts: An Introduction to Theory and History (New York: Longman, 2000), p. 82.

[28] อย่างไรก็ดี  ไนย์ชี้ว่าทั้งระบบดุลแห่งอำนาจและระบบความมั่นคงร่วมกันก็ปรากฏให้เห็นทั้งความเหมือนและความต่างที่สำคัญ  ในแง่ของความเหมือน  ทั้งสองระบบมองว่ารัฐทั้งหลายต่างพยายามป้องปรามการรุกรานผ่านการสร้างและพัฒนาระบบพันธมิตร  (Coalition) ที่มีประสิทธิภาพ  โดยหากการป้องปรามล้มเหลวการใช้กำลังก็เป็นวิถีทางที่ทั้งสองระบบจะเลือกใช้  อย่างไรก็ดี  ทั้งสองระบบก็มีความแตกต่างที่สำคัญ  3  ประการ  1)  ในขณะที่ระบบดุลแห่งอำนาจให้ความสำคัญกับขีดความสามารถ  (capacity)  แต่ระบบความมั่นคงร่วมกันจะพิจารณานโยบายที่ลักษณะรุกราน  (aggressive  policy)  เป็นสำคัญ  2)  ภายใต้ระบบดุลแห่งอำนาจระบบพันธมิตรจะถูกสถาปนาขึ้นก่อนล่วงหน้า  ซึ่งกันตรงข้ามกับระบบความมั่นคงร่วมกันที่จะไม่มีการสถาปนาระบบพันธมิตรขึ้นก่อนล่วงหน้า  เพราะไม่รู้ว่ารัฐใดจะมีพฤติกรรมคุกคามรัฐอื่น  3)  ระบบความมั่นคงร่วมกันถูกออกแบบมาเพื่อใช้ในระดับสากล  และยังเป็นระบบที่ไม่เอื้ออำนวยหากมีรัฐที่เป็นผู้โดยสารฟรี  (free  rider)  หรือมีความเป็นกลางมากจนเกินไป  เพราะจะส่งผลให้ระบบพันธมิตรมีความอ่อนแอและไม่สามารถจัดการกับรัฐที่มีพฤติกรรมคุกคามได้  (Nye,  Understanding International Conflicts: An Introduction to Theory and Histor, p. 83.)

[29] Brown and Ainley,  Understanding International Relations, p. 22.

[30] Jackson and Sorensen, Introduction to international relations, p. 39.

[31] Scott Burchill and Andrew Linklater.  “Introduction” In Scott Burchill et al., eds. Theories of International Relations (New York: Palgrave Macmillan, 2009), p. 1.

[32] Heywood,  Global politics, pp. 54-55.

[33]อี  เอช.  คาร์เป็นอดีตนักการทูตชาวอังกฤษผู้ตัดสินใจลาออกจากตำแหน่งและหันมาประกอบอาชีพนักวิชาการอย่างเต็มตัวในปี  1936  โดยคาร์ได้เข้ารับตำแหน่ง  Woodrow  Wilson  Professor  of  International  Politics  ณ  มหาวิทยาลัยอเบอร์ริสต์วิธ  (Aberystwyth  University)  แห่งเแคว้นเวลส์  ประเทศสหราชอาณาจักรอย่างไรก็ดี  การเข้ารับตำแหน่งของคาร์ก็ตามมาซึ่งเสียงวิพากษ์วิจารณ์ว่าขาดไม่เหมาะสมกับตำแหน่งดังกล่าวเพราะคาร์ได้วิพากษ์วิจารณ์แนวทางนโยบายของประธานาธิบดีวิลสัน  ตลอดจนการทำงานขององค์การสันนิบาตชาติอยู่บ่อยครั้ง  (โปรดดู  Michael Cox,  “Introduction” In E. H. Carr, eds.,  The Twenty Years’ Crisis 1919-1939: An Introduction to the Study of International Relations, pp. ix-xiv.)

[34] Jackson and Sorensen, Introduction to international relations, pp. 41-42.

[35]รากฐานของปรัชญาทางความคิดที่มีผลต่อคาร์คือแนวคิดแบบมาร์กซิสม์  (Marxism)  ดังปรากฏให้เห็นได้จากแนวคิดเรื่องรัฐที่มีดินแดนอาณานิคมและรัฐที่ไม่มี  นอกจากนี้คาร์ยังให้ความสนใจและผลิตผลงานหลายชิ้นที่เกี่ยวข้องกับโลกคอมมิวนิสต์  โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับนโยบายต่างประเทศสหภาพโซเวียต  ประวัติศาสตร์รัสเซีย  ตลอดจนความคิดของปัญญาชนฝ่ายซ้ายที่สำคัญ  อาทิ  คาร์ล  มาร์กซ์ (Karl  Marx)  (1818-1883),  ฟรีดริช  เองเกลส์ (Friedrich  Engels)  (1820-1877),  ฟีโอดอร์  ดอสโตเยฟสกี้  (Fyodor  Dostoyevsky)  (1821-1881)  และมิคาอิล  บาคูนิน  (Mikhail  Bakunin)  (1814-1876)  โปรดดู Carr,  The Twenty Years’ Crisis 1919-1939: An Introduction to the Study of International Relations.

[36] Brown and Ainley, Understanding International Relations, pp. 26-27.

[37] Cox,  “Introduction” In E. H. Carr, eds.,  The Twenty Years’ Crisis 1919-1939: An Introduction to the Study of International Relations, p. xv.

[38] Brown and Ainley, Understanding International Relations, p. 27.

[39] Cox,  “Introduction” In E. H. Carr, eds.,  The Twenty Years’ Crisis 1919-1939: An Introduction to the Study of International Relations, pp. xvi-xvii.

[40] Ibid., p. xvii.

[41] สมพงศ์ ชูมาก,  องค์การระหว่างประเทศ: สันนิบาตชาติและสหประชาชาติ, หน้า 18.

[42]อาจกล่าวได้ว่าการขับเคี่ยวแข็งขันระหว่างแนวคิดเสรีนิยมและสัจนิยมหรือที่รู้จักกันในชื่อวิวาทะครั้งยิ่งใหญ่ครั้งแรก  (Great Debate  I)  (โปรดดูเกี่ยวกับวิวาทะที่สำคัญใน  Daddow,  International Relations Theory: The Essentials, 2nd ed. (London: SAGE, 2013), pp. 70-71.)  มีความสำคัญต่อพัฒนาการของสาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ตลอดจนมีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบายต่างประเทศของบรรดารัฐมหาอำนาจในช่วงระหว่างสงครามโลก

 

สงครามโลกครั้งที่ 1 ยังมีอะไรให้ศึกษาอีกหรือ?: 100 ปี มหาสงครามและข้อโต้แย้งของนีลล์ เฟอร์กูสัน (ตอนจบ)

สงครามโลกครั้งที่ 1 ยังมีอะไรให้ศึกษาอีกหรือ?:  100 ปี มหาสงครามและข้อโต้แย้งของนีลล์ เฟอร์กูสัน (ตอนจบ)*

wwisoldiers

โดย ฑภิพร สุพร

เป็นที่ประจักษ์ว่า สงครามโลกครั้งที่หนึ่งมิได้เป็น “สงครามเพื่อยุติสงคราม” ตามคำกล่าวของ เอช. จี. เวลส์ (H. G. Wells) หากแต่เป็น “สงครามที่นำไปสู่การสิ้นสุดของสันติภาพ” ดังพิจารณาได้จากผลพวงของสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งถือเป็นผลผลิตโดยตรงจากเมล็ดพันธุ์ของปัญหาความขัดแย้งที่ถูกเพาะหว่านเอาไว้ตั้งแต่สมัยสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในตอนที่แล้ว เราได้ย้อนกลับไปสำรวจตรวจสอบความสำคัญของ “สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง” หรือ “มหาสงคราม” ในฐานะจุดเปลี่ยนที่สำคัญของประวัติศาสตร์โลก นอกจากนี้ ผู้เขียนยังได้เสนอข้อโต้แย้งว่า แม้สงครามโลกครั้งที่หนึ่งจะผ่านมากว่า 1 ทศวรรษ แต่การศึกษาเกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่หนึ่งกลับมิได้ถูกลดทอนความสำคัญลงแต่อย่างใด ในทางตรงกันข้าม การศึกษาเกี่ยวกับจุดเริ่มต้นและผลกระทบของสงครามโลกครั้งที่หนึ่งยังเป็นประเด็นที่มีการศึกษาค้นคว้าในแวดวงวิชาการอย่างสม่ำเสมอ โดยหนึ่งในข้อโต้แย้งที่กลายเป็นประเด็นที่ถูกวิพากษ์วิจารณ์กันอย่างแพร่หลายมากที่สุดคือ ข้อเสนอของนีลล์ เฟอร์กูสัน (Niall Ferguson) นักประวัติศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด ผู้เสนอชุดคำอธิบายที่กลับหัวกลับหางกับชุดคำอธิบายกระแสหลัก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ข้อเสนอที่ว่าการตัดสินใจเข้าสู่สงครามของอังกฤษส่งผลให้จักรวรรดิอังกฤษก้าวเข้าสู่สภาวะที่ตกต่ำมากที่สุด ด้วยเหตุว่าอังกฤษจำต้องทุ่มเทงบประมาณมหาศาลในการทำสงคราม โดยเฟอร์กูสันถึงขนาดเรียกการสินใจเข้าสู่สงครามของอังกฤษว่าเป็น “การตัดสินใจที่ผิดพลาดครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์สมัยใหม่”

แม้ชุดคำอธิบายกระแสหลักจะชี้ว่า การรุกรานเบลเยียมของกองทัพเยอรมันจะถูกพิจารณาว่าเป็นเหตุผลหลักของการประกาศสงครามต่อเยอรมนีของอังกฤษ เพราะเบลเยียมถือเป็นประเทศที่ประกาศตัวเป็นกลางและได้ลงนามในสนธิสัญญาปี 1839 ซึ่งระบุว่าอังกฤษมีพันธกรณีที่จะต้องปกป้องเบลเยียมจากการถูกรุกราน โดยอังกฤษ ซึ่งมีหลักในการดำเนินนโยบายต่างประเทศที่สำคัญคือการป้องกันมิให้ชาติมหาอำนาจใดผงาดขึ้นเป็นมหาอำนาจหนึ่งเดียว เล็งเห็นถึงอันตรายและศักยภาพของกองทัพเยอรมันจึงตัดสินใจประกาศสงครามต่อเยอรมนี อย่างไรก็ตาม เฟอร์กูสันแย้งว่า แท้จริงแล้วการช่วยเหลือเบลเยียมเป็นเพียง “ข้ออ้าง” ที่พรรคเสรี (Liberal Party) ภายใต้การนำของนายกรัฐมนตรีเฮอร์เบิร์ต แอสควิธ (Herbert Asquith) เลือกใช้เพื่อรักษาอำนาจของตนต่อไป กล่าวคือ แม้นักการเมืองหลายคนในคณะรัฐมนตรีจะไม่เห็นด้วยกับการประกาศสงคราม รัฐบาลพรรคเสรีกลับตระหนักดีว่า หากพวกเขาไม่นำอังกฤษเข้าสู่สงคราม รัฐบาลพรรคเสรีก็จำต้องหมดอำนาจลงซึ่งเท่าเป็นการเปิดโอกาสให้พรรคอนุรักษ์นิยม (Conservative Party) ก้าวขึ้นมาเป็นรัฐบาลแทนไปโดยปริยาย ในท้ายที่สุดแล้วรัฐบาลพรรคเสรีก็ตัดสินใจประกาศสงครามกับเยอรมนีในวันที่ 4 สิงหาคม 1914 เพื่อแลกกับความอยู่รอดของรัฐบาล

หนึ่งในข้อเสนอของเฟอร์กูสัน ซึ่งปรากฏให้เห็นกระแสวิพากษ์วิจารณ์จากทั้งในและนอกวงวิชาการมากที่สุดคือข้อเสนอที่ชี้ว่า หากเยอรมนีเป็นผู้ชนะสงคราม อังกฤษสามารถอยู่ร่วมกับเยอรมนีได้อย่างไม่เป็นปัญหา และที่สำคัญที่สุดคือ อังกฤษจะรักษาผลประโยชน์ของตนไว้ได้อย่างดีที่สุดหากไม่ตัดสินใจเข้าร่วมสงคราม เฟอร์กูสันให้อรรถาธิบายเกี่ยวกับประเด็นดังกล่าวไว้อย่างน่าสนใจว่า เยอรมนีในช่วงเวลาดังกล่าวมิได้เลวร้ายเหมือนกับเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง แท้จริงแล้วเยอรมนี ณ ขณะนั้นยังเป็นประเทศที่เคารพหลักการประชาธิปไตย ตลอดจนยึดมั่นในหลักนิติรัฐและนิติธรรม เพราะฉะนั้นการวาดภาพความก้าวร้าวของกองทัพนาซีในสงครามโลกครั้งที่สองเพื่อทำความเข้าใจ “ภัยคุกคาม” ที่อังกฤษจำต้องเผชิญในช่วงปี 1914 จึงเป็นความเข้าใจที่ผิดพลาด นอกจากนี้ หากวิเคราะห์ในเชิงยุทธศาสตร์ การตัดสินใจเข้าสู่สมรภูมิภาคพื้นดินเร็วเกินไปของอังกฤษถือเป็นการดำเนินนโยบายที่ผิดพลาดอย่างมหันต์ โดยหากพิจารณาจากข้อได้เปรียบทางเศรษฐกิจและศักยภาพของกองทัพเรืออังกฤษที่มีเหนือเยอรมนี อังกฤษควรอาศัยข้อได้เปรียบดังกล่าวเพื่อต่อรองกับเยอรมนี โดยแม้เยอรมนีอาจจะได้รับชัยชนะเหนือฝรั่งเศสและรัสเซีย แต่งบประมาณและศักยภาพกองทัพเรือของเยอรมนีก็ยังคงห่างไกลจากศักยภาพของกองทัพเรืออังกฤษ

แม้การเข้าสู่สงครามของอังกฤษจะเป็นหนึ่งในปัจจัยที่มีส่วนสำคัญต่อการได้รับชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร แต่การรีบเข้าสู่สงครามโดยปราศจากความพร้อมยังส่งผลให้ทหารอังกฤษต้องเสียชีวิตใน “สงครามอันน่าเวทนา” ซึ่งถือเป็นสิ่งที่ไม่ควรเกิดขึ้น ทั้งนี้เป็นที่น่าประหลาดใจว่า ในช่วงเวลาที่อังกฤษตัดสินใจประกาศสงครามกับเยอรมนี อังกฤษมีกองทัพบกเพียง 7 กอง หากอังกฤษเล็งเห็นถึงความจำเป็นในการเข้าไปมีส่วนเกี่ยวกับกับการเมืองในภาคพื้นทวีป อังกฤษควรออกออกพระราชบัญญัติเกณฑ์ทหารเพื่อระดมไพร่พลเข้าสู่กองทัพตั้งแต่ก่อนปี 1914 โดยหากอังกฤษตัดสินใจดำเนินนโยบายดังกล่าว กองทัพอังกฤษก็คงสามารถจะป้องปรามการขยับขยายอำนาจของกองทัพเยอรมันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

กล่าวโดยสรุปแล้ว การย้อนกลับไปพินิจพิจารณาความสำคัญของสงครามโลกครั้งที่หนึ่งผ่านมุมมองของนักประวัติศาสตร์อย่างเฟอร์กูสัน มิได้นำไปสู่บทสรุปอันโบราณคร่ำครึในทำนองว่า เราสามารถศึกษา “บทเรียน” จากอดีตเพื่อป้องกันมิให้ความขัดแย้งเช่นนี้เกิดขึ้นอีกครั้งในอนาคต ในทางตรงกันข้าม คุณูประการที่สำคัญประการหนึ่งของเฟอร์กูสันคือ การชี้ชวนให้เราได้ขบคิดต่อไปว่า ชุดคำอธิบายกระแสหลักที่ยึดกุมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่หนึ่งนั้นมีความเหมาะสมหรือมีปัญหาในการอธิบายมากน้อยเพียงใด ท้ายที่สุดแล้ว “บทเรียน” ที่สำคัญมากที่สุดจากการอ่านและคิดตามเฟอร์กูสันคือ เราสามารถศึกษาปรากฏการณ์หนึ่งๆผ่านมุมมองอันแตกต่างหลากหลาย และไม่มีชุดคำตอบใดที่เป็น “ความจริงสูงสุด” ซึ่งไม่สามารถถูกตั้งคำถามหรือหักล้างได้

World War 1 Ends

__________________________________________________________

*ตีพิมพ์ครั้งแรกในจดหมายข่าวศูนย์ยุโรปศึกษา ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 (เมษายน- มิถุนายน 2557 หน้า 4-5)

สงครามโลกครั้งที่ 1 ยังมีอะไรให้ศึกษาอีกหรือ?: 100 ปี มหาสงครามและข้อโต้แย้งของนีลล์ เฟอร์กูสัน (ตอนที่1)

 สงครามโลกครั้งที่ 1 ยังมีอะไรให้ศึกษาอีกหรือ?:  100 ปี มหาสงครามและข้อโต้แย้งของนีลล์ เฟอร์กูสัน (ตอนที่1)*

                                      โดย ฑภิพร สุพร

article-2226235-0F7F8D0300000578-696_964x682

“เขาตายในเดือนตุลาคม ปี 1918 ในวันซึ่งตลอดแนวรบ เหตุการณ์สงบอย่างที่สุด
อย่างทีรายงานกองทัพเขียนสั้นๆว่า แนวรบตะวันตก เหตุการณ์ไม่เปลี่ยนแปลง
เขานอนคว่ำหน้าอยู่กับดินเหมือนกับว่านอนหลับ เมื่อพลิกหน้าขึ้นดู
จะเห็นได้ว่าเขาไม่เจ็บปวดอยู่นานเท่าใด ใบหน้าแสดงความสงบ
เกือบจะว่าพอใจที่อวสานได้มาถึงแล้ว” – 
เอริช มาเรีย เรอมาร์ก

วันที่ 28 กรกฎาคม 1914 เป็นวันที่สงครามโลกครั้งที่ 1 หรือ “มหาสงคราม” (the Great War) อุบัติขึ้นในยุโรปอย่างเป็นทางการ สงครามโลกครั้งที่ 1 ได้ฉายภาพสงครามยุคใหม่ (modern war) ที่ปรากฏให้เห็นการใช้อาวุธยุทโธปกรณ์ที่มีความทันสมัยและสามารถสร้างความเสียหายในระดับที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน โดย นอกเหนือจากความเสียหายจากการทิ้งระเบิดในเมืองสำคัญของยุโรป ผลพวงจากความขัดแย้งของสงครามยังส่งผลให้มีผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตเป็นจำนวนกว่า 21 ล้านคนและ 9 ล้านคนตามลำดับ สงครามโลกครั้งที่ 1 ยังถูกพิจารณาว่าเป็น “สงครามเบ็ดเสร็จ” (total war) ซึ่งบรรดารัฐที่เข้าสู่สงครามต่างระดมสรรพกำลัง (mobilize) จากทุกภาคส่วนของสังคมเพื่อสร้างความเสียหายในระดับมหาศาลต่อเป้าหมายของศัตรู โดยไม่สนใจว่าเป้าหมายดังกล่าวจะเป็นเป้าหมายทางทหารหรือพลเรือน ทั้งนี้เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ขั้นสูงสุดของการทำสงครามคือ การได้รับชัยชนะโดยปราศจากเงื่อนไข

ปี 2014 เป็นปีครบรอบ 100 ปี สงครามโลกครั้งที่ 1 และคำถามที่สำคัญของบทความนี้คือ สงครามโลกครั้งที่ 1 ยังมีความจำเป็นหรือมีประเด็นใดที่ควรค่าแก่การหยิบยกขึ้นมาพิจารณาหรือศึกษาค้นคว้าอยู่หรือไม่ ทั้งนี้เป็นที่ประจักษ์ว่า แม้สงครามโลกครั้งที่ 1 จะผ่านมากว่า 1 ทศวรรษ แต่การศึกษาเกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่ 1 นั้นกลับมิได้ตกอยู่ในฐานะของการเป็น “สิ่งศึกษา”ที่ถูกลดทอนความสำคัญลงแต่อย่างใด ในทางตรงกันข้าม หากพิจารณาจากการตื่นตัวในแวดวงวิชาการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในซีกโลกตะวันตก อาจกล่าวได้ว่า การศึกษาเกี่ยวกับจุดเริ่มต้นและผลกระทบของสงครามโลกครั้งที่ 1ยังเป็นประเด็นที่มีการศึกษาค้นคว้ากันอย่างแพร่หลาย ดังพิจารณาได้งานผลงานเรื่อง The War That Ended Peace (2013) ของมากาเร็ธ แม็คมิลแลน (Margaret MacMillan) หรือ The Sleepwalkers: How Europe Went to War in 1914 (2013)  ของคริสโตเฟอร์ คลาร์ก (Christopher Clark) ซึ่งล้วนเป็นงานที่มุ่งสำรวจตรวจสอบและนำเสนอชุดคำอธิบายใหม่เกี่ยวกับมูลเหตุของการตัดสินใจเข้าสู่สงครามของรัฐในยุโรป อย่างไรก็ดี ข้อโต้แย้งที่กลายเป็นประเด็นที่ถูกกล่าวถึงและได้รับการวิพากษ์วิจารณ์กันอย่างแพร่หลายมากที่สุดคือ ข้อเสนอจากนีลล์ เฟอร์กูสัน (Niall Ferguson)นักประวัติศาสตร์คนสำคัญจากมหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด ผู้ชี้ว่าการตัดสินใจเข้าสู่สงครามของสหราชอาณาจักรถือเป็นความผิดพลาดครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์สมัยใหม่

แม้เฟอร์กูสันจะเป็นนักวิชาการที่มี “ชื่อเสีย” จากการพูดไม่คิด เฟอร์กูสันเคยวิพากษ์วิจารณ์ จอห์น เมย์นาร์ด เคนส์ (John Maynard Keynes) นักเศรษฐศาสตร์คนสำคัญ เจ้าของวรรคทอง “ในระยะยาว พวกเราก็ตายกันหมดแล้ว” ว่าเป็นแนวคิดที่ไม่คำนึงถึงคนรุ่นหลัง โดยเฟอร์กูสันชี้ว่า สาเหตุที่เคนส์มีแนวคิดเช่นนั้นเป็นเพราะเคนส์ไม่มีลูกและเป็นพวกรักร่วมเพศ ซึ่งเป็นที่แน่นอนว่าภายหลังจาก “การพูดไม่คิด”ของเฟอร์กูสัน เขาได้กลายเป็นนักวิชาการที่ถูกวิพากษ์วิจารณ์จากสื่อมวลชน ตลอดจนปัญญาชนในซีกโลกตะวันตกมากที่สุดคนหนึ่ง อย่างไรก็ตาม เฟอร์กูสันก็ยังผลิตผลงานที่มีประโยชน์ต่อแวดวงวิชาการออกมาอย่างสม่ำเสมอ โดยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับสงครามโลกครั้งที่ 1 ของเขาก็คือ The Pity of War (1999)  ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นหนังสือที่นำเสนอมุมมองของเขาเกี่ยวกับมหาสงครามได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ และในโอกาสครบรอบ 100 ปี สงครามโลกครั้งที่ 1 เฟอร์กูสันได้ให้สัมภาษณ์กับนิตยสาร BBC History Magazine ซึ่งปฏิเสธได้ยากว่า ผลงานของเฟอร์กูสันก็มีความน่าสนใจและควรค่าแก่การนำมาขบคิดต่อ แม้เราจะเห็นด้วยกับข้อโต้แย้งของเฟอร์กูสันหรือไม่ก็ตาม

Niall-Ferguson-007

ในทัศนะของเฟอร์กูสัน การศึกษาเกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่ 1 โดยโยนความผิดทั้งหมดให้แก่เยอรมนีเป็นกระบวนการที่มิได้ก่อให้เกิดประโยชน์หรือช่วยทำให้เราเข้าใจเกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้ชัดเจนมากขึ้นแต่อย่างใด ในทางตรงกันข้าม ปัญหาที่แท้จริงของสงครามโลกครั้งที่ 1 เกิดจากการรับรู้และการคาดคะเนที่ผิดพลาดของบรรดารัฐที่ตัดสินใจเข้าร่วมสงคราม ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายสัมพันธมิตรหรือมหาอำนาจกลาง ซึ่งต่างเชื่อมั่นว่าการเข้าร่วมในสงครามจะนำมาซึ่งประโยชน์แก่ตน เช่นเดียวกับความเชื่อมั่นที่ผิดพลาดว่าตนจะได้รับชัยชนะในสงครามครั้งนี้ในระยะเวลาอันสั้น

ในมุมมองของเฟอร์กูสัน ผู้กำหนดนโยบายต่างประเทศของเยอรมันคาดคะเนเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ในการทำสงครามผิดพลาดอยู่หลายครั้ง อาทิ การประเมินความเข้มแข็งของออสเตรียที่เป็นพันธมิตรของตนไว้สูงจนเกินไป หรือแม้แต่ความเชื่อที่ว่าเยอรมนีจะสามารถเปิดแนวรบสองด้านโดยสามารถเอาชนะฝรั่งเศสและรุกคืบไปยังรัสเซีย และไม่ถูกถูกมหาอำนาจอย่างอังกฤษเข้าแทรกแซงในสงคราม อย่างไรก็ตาม เฟอร์กูสันก็ชี้ว่าแม้การตัดสินใจของเยอรมนีในการให้ความช่วยเหลือออสเตรียจะสะท้อนความผิดพลาดของการคิดคำนวณในเชิงยุทธศาสตร์ อย่างไรก็ตาม การตัดสินใจของเยอรมนีก็มิได้เกิดขึ้นบนฐานคิดที่ไม่สมเหตุสมผล โดยเขาเสนอว่าแท้จริงแล้วออสเตรียมิได้อยู่ในฝ่ายผิด เฟอร์กูสันชี้ชวนให้เราคิดต่อไปว่า เราจะมีปฏิกิริยาต่อเหตุการณ์การลอบสังหารอาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์ (Franz Ferdinand) แห่งออสเตรียอย่างไร หากเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นในปัจจุบัน และตัวละครที่ถูกลอบสังหารคือ โจ ไบเด็น (Joe Biden) รองประธานาธิบดีสหรัฐฯ ซึ่งถูกลอบสังหารโดยกลุ่มผู้ก่อการร้ายที่มีสายสัมพันธ์กับรัฐบาลอิหร่าน

ทั้งนี้เป็นที่ประจักษ์ว่า สหรัฐฯเองก็มีความจำเป็นและมีสิทธิ์ในการตอบโต้กลุ่มผู้ก่อการร้ายอย่างชอบธรรม เพราะฉะนั้น ในทัศนะของเฟอร์กูสัน การตัดสินใจช่วยออสเตรียของเยอรมนีจึงมิใช่การตัดสินใจที่ไม่สมเหตุสมผลเสียทีเดียว โดยเฟอร์กูสันทิ้งท้ายในประเด็นนี้ไว้อย่างน่าสนใจว่า แท้จริงแล้วออสเตรียอยู่ในตำแหน่งที่เป็นฝ่ายถูก ในขณะที่บรรดารัฐที่ให้การสนับสนุนเซอร์เบียนั้นก็ไม่ต่างอะไรก็การสนับสนุนการก่อการร้าย เหนือสิ่งอื่นใด ในทัศนะของเฟอร์กูสัน การลอบสังหารฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์มิใช่เหตุการณ์ที่นำไปสู่การอุบัติของสงครามโลก แต่เหตุการณ์ดังกล่าวเป็นตัวกระตุ้นให้ความขัดแย้งระหว่างออสเตรียและเซอร์เบีย ซึ่งมีผู้สนับสนุนสำคัญอย่างเยอรมนีและรัสเซีย พัฒนาไปสู่การทำสงครามระหว่างกันได้อย่างรวดเร็วมากยิ่งขึ้น

(โปรดอ่านต่อตอนหน้า)

*ตีพิมพ์ครั้งแรกในจดหมายข่าวศูนย์ยุโรปศึกษา  ปีที่ 22 ฉบับที่1 มกราคม- มีนาคม 2557 หน้า 4-5

ความ(ไม่)มั่นคงของนักวิชาการในยุคหลังสงครามเย็น ?

972865_10152140554673492_774062441_n

เมื่อคืนผมอ่านงานของ Peter Hough ไป 1-2 บท มันโยงกับหนังสือทำนองนี้ที่เคยอ่านมานานแล้ว จริงๆมันไม่ได้มีอะไร “ใหม่” ในเชิง Concept เลยนะ นอกจากมีศัพท์ที่ใช้ไม่เหมือนกับเล่มอื่นบ้างๆ แต่รวมๆก็จะแบ่ง “ความมั่นคง” เหมือนงานอื่นๆ คือ ความมั่นคงตามแบบ (Traditional Security) ที่ให้ความสำคัญแต่เฉพาะความมั่นคงทางทหาร หรือจะเรียกได้ว่าเป็นความมั่นคงแบบแคบก็ได้ กับอีกกลุ่มคือ ความมั่นคงนอกแบบ (Non-traditional Security) ที่รวมประเด็นอื่นๆที่เป็น Non- Military ไปด้วย เล่มนี้ยังพูดถึง (และให้ความสำคัญมาก) กับสำนัก Securitization หรือสำนักCopenhagen (พวก Buzan, Waever, de Wilde) ที่บุกเบิกการศึกษาเรื่องความมั่นคงของมนุษย์ด้วย

งานของ Hough ในบท Introduction ก็ใช้วิธีนำเสนอไม่ต่างจากงานของนักวิชาการคนอื่นๆอย่าง Barry Buzan, M. Ayoob, Ken Booth ที่บอกว่าแนวโน้มของการศึกษาความมั่นคงนี่ไม่ควรถูกจำกัดไว้แต่เฉพาะความมั่นคงตามแบบอีกต่อไป ในทางตรงกันข้าม การศึกษาเรื่องความมั่นคงควร “Widen” ทั้งตัวประเด็นการศึกษาให้ครอบคลุมประเด็นปัญหาอื่นๆ เช่น ปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหาสิ่งแวดล้อมซึ่งทวีความสำคัญมากยิ่งขึ้นในโลกยุคหลังสงครามเย็น ในขณะเดียวกันก็ควร “Broaden” ตัว Level of Analysis ซึ่งไม่ได้ดูแต่เฉพาะระดับ State อีกต่อไป (Wyn Jones ถึงขนาดเรียกพวกที่ผูกตัวเองไว้กับการศึกษาเฉพาะความมั่นคงตามแบบไว้ว่าเป็น “Fetishization of the state”)

แต่จุดที่ผมรู้สึกว่าได้คำถามอะไรใหม่ๆ ก็ตอนที่เค้ายกโคว้ท John Mearsheimer ที่พูดว่า “We will soon miss the cold war.” โคว้ทนี้มันไม่ได้ง่อยๆนะครับ ผมรู้สึกเลยว่า พวกที่เป็น Traditionalist (ทั้ง Stephen Walt หรือแม้แต่ Mearsheimer เอง) นี่ไม่พอใจมากๆกับการเกิดขึ้นของสำนักความมั่นคงใหม่และพยายามทุกทางที่จะ Narrow ประเด็นด้านความมั่นคงให้อยู่แต่เฉพาะมิติทางทหาร โดยคำถามหลักคือถ้าเราสามารถ Securitize ทุกประเด็นให้เป็น “ประเด็นทางความมั่นคงได้” ทุกอย่างก็จะกลายเป็นความมั่นคงหมด และความมั่นคงมันจะกลายไปเป็นอะไร (ซึ่งจริงๆสาย Copenhagen ก็มีคำตอบให้กับคำถามนี้เหมือนกัน แต่ขอไม่เขียนถึง ณ ตอนนี้ ) แต่คำถามที่สำคัญที่สุด เหมือนที่นักวิชาการหลายคนเขียนถึง (เช่น Ayoob) คือ เมื่อพูดถึงความมั่นคงของใคร ? คำถามนี้ละครับที่มันสะกิดใจผม อธิบายง่ายๆก็คือ ไม่ใช่แต่เฉพาะ ประเด็นเรื่องการขยับขยายแนวคิดเรื่องการศึกษาเรื่องความมั่นคงให้ครอบคลุมประเด็นที่เป็น Non- Military หรือการขยับ Level of Analysis ให้ไปไกลกว่าระดับ State แต่สิ่งที่ผมรู้สึกได้จากความพยายามของทั้ง Walt, Mearsheimer และ นักวิชาการสาย Traditionalist คนอื่นๆคือ ความรู้สึก “ไม่มั่นคง” ของตัวนักวิชาการเองในโลกยุคหลังสงครามเย็น กล่าวคือ บรรดานักวิชาการที่เริ่มต้นอาชีพในยุคสงครามเย็น และศึกษาความมั่นคงตามแบบและการขับเคี่ยวแข่งขันกันระหว่างสหรัฐฯและสหภาพโซเวียต มาทั้งชีวิต ก็คงมีความรู้สึกโหยหายอดีตและสถานะของการผูกขาดองค์ความรู้เรื่องความมั่นคงที่ถูกท้าทายจากทั้งสำนัก Critical Security Studies และ Copenhagen School กล่าวสรุปแบบสั้นๆคือ นอกเหนือจากจะเป็นการต่อสู้ในเชิงความคิดระหว่างสำนักเก่าและใหม่ที่ต่างพยายามช่วงชิงและนิยามความหมายของคำว่า “Security” ให้สอดคล้องกับบริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงไป การศึกษาเกี่ยวกับความมั่นคงนับตั้งแต่การสิ้นสุดของสงครามเย็นจวบจนปัจจุบันของนักวิชาการยังสะท้อนความพยายามอย่างแข็งขันในการรักษาสถานะทางความมั่นคงของอาชีพนักวิชาการของตนไม่ให้ถูก “คุกคาม” อีกนัยหนึ่งด้วย ท้ายที่สุดคงต้องโคว้ท Mearsheimer มาอีกครั้ง … “We will soon miss the cold war.” … ใช่แล้ว

ยุทธศาสตร์การถ่วงดุลครั้งใหม่ของสหรัฐฯจากมุมมองของเกาหลีใต้

ยุทธศาสตร์การถ่วงดุลครั้งใหม่ของสหรัฐฯจากมุมมองของเกาหลีใต้*

ฑภิพร สุพร

36

ข้อถกเถียงหลัก:  การเปลี่ยนแปลงนโยบายต่างประเทศของสหรัฐฯผ่านยุทธศาสตร์การถ่วงดุลครั้งใหม่ถือเป็นความท้าท้ายที่สำคัญของเกาหลีใต้ โดยปฏิเสธได้ยากว่าสหรัฐฯเป็นพันธมิตรที่สำคัญของเกาหลีในฐานะมหาอำนาจที่ทำหน้าที่ให้ความคุ้มครองเกาหลีใต้นับตั้งแต่ยุคสงครามเกาหลี  ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะบทบาทของจีนที่เพิ่มมากขึ้น ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงผู้นำในคาบสมุทรเกาหลีการพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างเกาหลีใต้และสหรัฐฯครั้งใหม่จึงเป็นสิ่งที่มีความสำคัญอย่างปฏิเสธมิได้

นโยบายถ่วงดุลครั้งใหม่ของสหรัฐฯนั้นยังเป็นเป็นสิ่งที่รัฐในภูมิภาคเอเชีย รวมทั้งเกาหลีใต้ยังตีความว่าลักษณะกำกวมและไม่ชัดเจน กล่าวอีกนัยหนึ่งคือแม้สหรัฐฯจะประกาศว่าสหรัฐฯนั้นจะกลับมาให้ความสำคัญกับภูมิภาคเอเชียอีกครั้ง คำถามสำคัญประการหนึ่งคือสหรัฐฯเคยห่างหายไปจากภูมิภาคเอเชียจริงหรือไม่ โดยเป็นที่ประจักษ์ว่าแท้จริงแล้วสหรัฐฯไม่เคยทิ้งเอเชีย แต่เมื่อความสำคัญทางยุทธศาสตร์ของภูมิภาคเอเชียเปลี่ยนแปลงไปการกลับสู่เอเชียของสหรัฐฯจึงเป็นสิ่งที่สามารถเข้าใจได้

ในปัจจุบันเอเชียแปซิฟิกในทรรศนะของผู้กำหนดนโยบายของสหรัฐฯถือเป็นภูมิภาคที่มีทั้งโอกาสและความเสี่ยง ตลอดจนเป็นภูมิภาคที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจและความมั่นคงอันอาจส่งผลกระทบต่อผลประโยชน์ของสหรัฐฯ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อปรากฏให้เห็นการก้าวขึ้นมาอิทธิพลของจีน สำหรับเกาหลีใต้ ปัจจัยสำคัญ 3 ประการที่ทำให้สหรัฐฯผลักดันยุทธศาสตร์การถ่วงดุลครั้งใหม่คือ การผงาดขึ้นมามีอิทธิพลของจีน ความสำคัญของเศรษฐกิจเอเชียต่อสหรัฐฯ และประเด็นทางความมั่นคง โดยในประเด็นแรก เมื่อช่องว่างทางอำนาระหว่างมหาอำนาจเดิมและมหาอำนาจใหม่แคบลง มหาอำนาจเดิมจะไม่รอจนกว่ารัฐมหาอำนาจใหม่พัฒนาศักยภาพและมีอำนาจเท่าเทียมกับตัวเอง นอกจากนี้หากพิจารณาตามทฤษฏีการเปลี่ยนผ่านทางอำนาจ (Power Transition Theory) เมื่อรัฐที่ก้าวขึ้นมามีอำนาจใหม่มีอำนาจถึงร้อยละ 20 ของมหาอำนาจเดิมและต้องการเปลี่ยนแปลงกฎเกณฑ์ที่ถูกสถาปนาโดยรัฐมหาอำนาจเดิม ความสุ่มเสี่ยงที่จะเกิดสงครามระหว่างรัฐมหาอำนาจก็อาจเป็นสิ่งที่เป็นไปได้ อย่างไรก็ตาม สหรัฐฯในสมัยประธานาธิบดี Obama ก็พยายามที่จะสร้างความร่วมมือระหว่างจีน โดยรูปแบบความสัมพันธ์ของรัฐมหาอำนาจเดิมและมหาอำนาจใหม่ไม่จำเป็นต้องปรากฏให้เห็นในรูปแบบของการปะทะหรือทำสงครามระหว่างกัน ในทางตรงกันข้ามจีนและสหรัฐฯนั้นสามารถที่จะอยู่ร่วมกันอย่างสันติได้ แต่จีนเองก็ต้องยอมปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และระเบียบแบบแผนที่สหรัฐฯสร้างไว้โดยไม่พยายามที่จะรื้อถอนหรือทำลายระเบียบดังกล่าว โดยจีนจะไม่สามารถที่จะก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำในเวทีโลกได้หากไม่เคารพกฎเกณฑ์หรือไม่สามารถแบ่งเบาความรับผิดชอบจากมหาอำนาจเดิมได้ กฎแห่งเกมของการเป็นมหาอำนาจโลกในปัจจุบันจึงมิได้วัดกันที่ความเข้มแข็งทางทหารหรือทางเศรษฐกิจ หากแต่เกี่ยวข้องกับการสถาปนาและยอมรับกฎเกณฑ์

ความสำคัญของเศรษฐกิจเอเชียต่อสหรัฐฯก็เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่สหรัฐฯให้ความสำคัญ ดังพิจารณาได้จากความพยายามของ Obama ในการผลักดันความตกลงหุ้นส่วนยุทธศาสตร์เศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (Trans-Pacific Strategic Economic Partnership Agreement: TPP) โดยในปัจจุบันภูมิภาคเอเชียเป็นภูมิภาคที่สหรัฐฯมีส่วนแบ่งทางการค้าเพิ่มมากขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ในปี 2000 สหรัฐฯมีการส่งออกไปยังเอเชียคิดเป็นร้อยละ 22 ก่อนที่จะเพิ่มเป็นร้อยละ 23.5 ในปี 2010 ในขณะที่ส่วนแบ่งการนำเข้ามีอัตราการเติบโตจากร้อยละ 28.9 ในปี 2000 ไปเป็นร้อยละ 32.9 ในปี 2010 ยิ่งไปกว่านั้นในปัจจุบันเอเชียยังเป็นภูมิภาคที่ครองอันดับสองของสัดส่วนการค้าโลกอีกด้วย

สำหรับความสำคัญด้านความมั่นคง ยุทธศาสตร์ของสหรัฐฯวางอยู่บนความพยายามที่จะต่อต้านมาตรการ anti-access/area-denial (A2/AD) ของจีน อย่างไรก็ตามยุทธศาสตร์การถ่วงดุลครั้งใหม่นั้นมิควรวางอยู่บนนโยบายสกัดกั้น (Contain) จีน หากแต่ควรพยายามที่จะสร้างสถาปัตยกรรมทางความมั่นคงที่มีเสถียรภาพระหว่างกัน โดยรูปแบบของสถาปัตยกรรมทางความมั่นคงในภูมิภาคเอเชียที่สหรัฐฯเคยใช้คือยุทธศาสตร์ดุมล้อและซี่ล้อ (Hub and Spoke) อย่างไรก็ตาม ยุทธศาสตร์ดังกล่าวควรต้องมีการปรับปรุงแก้ไขเพื่อสอดรับกับสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยแนวทางที่เหมาะสมคือการสร้างความร่วมมือระหว่างแต่ละซี่ล้อหรือแต่ละรัฐซึ่งเป็นพันธมิตรของสหรัฐฯในรูปแบบของเครือข่ายความสัมพันธ์มากกว่าจะยึดเอาสหรัฐฯเป็นดุมล้อหรือแกนกลางในการขับเคลื่อนความสัมพันธ์ดังเดิม

สถาปัตยกรรมทางการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชียที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งการผงาดขึ้นของจีนและนโยบายถ่วงดุลครั้งใหม่ของสหรัฐฯถือเป็นความท้าทายประการสำคัญสำหรับเกาหลีใต้ คงไม่ไกลเกินไปนักหากจะกล่าวว่าเกาหลีใต้นั้นรู้สึกถึงความไม่แน่นอนว่าทิศทางหรือรูปแบบของความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ-จีน และผลกระทบของความสัมพันธ์จะส่งผลกระทบอย่างไรต่อภูมิภาคเอเชียและเกาหลีใต้ โดยเกาหลีใต้เองก็ตระหนักว่าเกาหลีใต้มิได้อยู่ในสถานะที่จะมีอิทธิพลมากเพียงพอต่อการกำหนดทิศทางของความสัมพันธ์ดังกล่าว

โดยแม้จะเป็นที่ประจักษ์ว่าทั้งสหรัฐฯมีความสำคัญยิ่งต่อการค้ำประกันความมั่นคงปลอดภัยและรักษาเสถียรภาพในคาบสมุทรเกาหลีมาเป็นระยะเวลากว่า 6 ทศวรรษ อย่างไรก็ตาม ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะบทบาทของจีนที่เพิ่มมากขึ้น ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงผู้นำในคาบสมุทรเกาหลี

การพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างเกาหลีใต้และสหรัฐฯครั้งใหม่จึงเป็นสิ่งที่มีความสำคัญอย่างปฏิเสธมิได้ โดยในปัจจุบันแม้สหรัฐฯจะเป็นหุ้นส่วนยุทธศาสตร์ทางความมั่นคงที่สำคัญที่สุดสำหรับเกาหลีใต้ แต่จีนเองก็ถือเป็นหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจที่มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจเกาหลีใต้เช่นกัน ภายใต้บริบทดังกล่าว ทิศทางของความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯและเกาหลีใต้จึงควรที่จะบริหารจัดการเปลี่ยนแปลงของดุลแห่งอำนาจในภูมิภาคเอเชียอย่างสันติ สถาปนากลไกทางความร่วมมือเพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์กับจีน ตลอดจนผลักดันประเด็นความมั่นคงในภูมิภาคที่มีความสำคัญ อาทิ ปัญหาเกาหลีเหนือ ข้อพิพาทเหนือเขตแดน และสิทธิมนุษยชน

นอกจากนี้ระเบียบของภูมิภาคเอเชียตะวันออกควรที่จะยืดหยุ่นมากเพียงพอที่จะรองรับการเปลี่ยนแปลงของดุลแห่งอำนาจ ตลอดจนพยายามผลักให้เกิดกลไกเพื่อระงับข้อพิพาทและป้องกันมิให้ประเด็นปัญหาหนึ่งๆยกระดับสู่การเผชิญหน้ากันโดยตรงระหว่างรัฐมหาอำนาจโดยการสร้างความยืดหยุ่นให้กับระเบียบในภูมิภาคสามารถกระทำได้ผ่าน 4 วิธีได้แก่

  1. ป้องกันมิให้เกิดสงครามระหว่างมหาอำนาจหรือการปะทะทางทหารของมหาอำนาจในภูมิภาค
  2. บริหารจัดการปัญหาและความขัดแย้งของการเมืองในภูมิภาคโดยสันติวิธี
  3. สถาปนาบรรทัดฐานสากลและบรรทัดฐานระหว่างประเทศ
  4. เพิ่มบทบาทของรัฐมหาอำนาจขนาดกลางเพื่อลดความไม่เชื่อใจระหว่างรัฐมหาอำนาจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งระหว่างจีนและสหรัฐฯ

อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ควรตระหนักสำหรับเกาหลีใต้คือ ผู้กำหนดนโยบายสหรัฐฯมีความเข้าใจพื้นฐานของความสัมพันธ์ในเอเชียตะวันออกมากน้อยเพียงใด เพราะแท้จริงแล้วที่มาแห่งความขัดแย้งระหว่างรัฐในเอเชียตะวันออกนั้นมีพื้นฐานมาจากยุทธศาสตร์ทางวัฒนธรรมแบบดั้งเดิม (Traditional Strategic Culture) มรดกของลัทธิจักรวรรดินิยม และหลักคิดเรื่องการถ่วงดุลอำนาจ ตลอดจนระเบียบแบบหลังเวสต์ฟาเลีย (Post- Westphalian) ตัวอย่างที่สำคัญของการขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเมืองในเอเชียตะวันออกที่เพียงพอคือกรณีของเกาหลีเหนือซึ่งมักมีความเข้าใจที่คาดเคลื่อนว่าปัญหาเกาหลีเหนือนั้นควรพิจารณาจากหลักคิดเรื่องการป้องกันการแพร่กระจายของอาวุธนิวเคลียร์แต่เพียงปัจจัยเดียว โดยปราศจาการคิดคำนึงถึงความสลับซับซ้อนของประเด็นทางการเมืองที่มีความสำคัญเช่นเดียวกัน กล่าวอีกนัยหนึ่งในการทำความเข้าใจและกำหนดนโยบายเพื่อปฏิบัติต่อรัฐในเอเชียตะวันออก สหรัฐฯควรพิจารณาถึงสาเหตุของปัญหาอย่างรอบด้าน (Multidimensional) มากกว่าการพิจารณาหรือให้ความสำคัญกับประเด็นใดประเด็นหนึ่งเป็นสำคัญ

__________________________________________

*Chaesung Chun. “U.S. Strategic Rebalancing to Asia: South Korea’s Perspective.” Asia Policy 15.1 (2013): 13-17.